วันอาทิตย์ที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2551

เครือข่าย Ethernet

เครือข่าย Ethernet
1.ความหมายของIEEE 802.3IEEE 802.3 หรือ อีเทอร์เน็ต (Ethernet) เป็นเครือข่ายที่มีความเร็วสูงการส่งข้อมูล 10 เมกะบิตต่อวินาที สถานีในเครือข่ายอาจมีโทโปโลยีแบบัสหรือแบบดาว IEEE ได้กำหนดมาตรฐานอีเทอร์เน็ตซึ่งทำงานที่ความเร็ว 10 เมกะบิตต่อวินาทีไว้หลายประเภทตามชนิดสายสัญญาณเช่น•10Base5 อีเทอร์เน็ตโทโปโลยีแบบบัสซึ่งใช้สายโคแอกเชียลแบบหนา (Thick Ethernet) ความยาวของสายในเซกเมนต์หนึ่ง ๆ ไม่เกิน 500 เมตร

10Base2 อีเทอร์เน็ตโทโปโลยีแบบบัสซึ่งใช้สายโคแอ๊กเชียลแบบบาง (Thin Ethernet) ความยาวของสายในเซกเมนต์หนึ่ง ๆ ไม่เกิน 185 เมตร•10BaseT อีเทอร์เน็ตโทโปโลยีแบบดาวซึ่งใช้ฮับเป็นศูนย์กลาง สถานีและฮับเชื่อมด้วยสายยูทีพี (Unshield Twisted Pair) ด้วยความยาวไม่เกิน 100 เมตรรูปที่ข้างล่าง แสดงถึงลักษณะเครือข่ายอีเทอร์เน็ตแยกตามประเภทของสายสัญญาณ รหัสขึ้นต้นด้วย 10 หมายถึงความเร็วสายสัญญาณ 10 เมกะบิตต่อวินาที คำว่า “Base” หมายถึงสัญญาณชนิด “Base” รหัสถัดมาหากเป็นตัวเลขหมายถึงความยาวสายต่อเซกเมนต์ในหน่วยหนึ่งร้อยเมตร (5=500, 2 แทนค่า 185) หากเป็นอักษรจะหมายถึงชนิดของสาย เช่น T คือ Twisted pair หรือ F คือ Fiber opticsส่วนมาตรฐานอีเทอร์เน็ตความเร็ว 100 เมกกะบิตต่อวินาทีที่นิยมใช้ในปัจจุบันได้แก่ 100BaseTX และ 100BaseFX สำหรับอีเทอร์เน็ตความเร็วสูงแบบกิกะบิตอีเทอร์เน็ตเริ่มแพร่หลายมากขึ้น ตัวอย่างของมาตรฐานกิกะบิตอีเทอร์เน็ตในปัจจุบันได้แก่ 100BaseT, 100BaseLX และ 100BaseSX เป็นต้น อีเทอร์เน็ตใช้โปรโตคอล ซีเอสเอ็มเอ/ซีดี (CSMA/CD : Carrier Sense Multiple Access with Collision Detection) เป็นตัวกำหนดขั้นตอนให้สถานีเข้าครอบครองสายสัญญาณ ในขณะเวลาหนึ่งจะมีเพียงสถานีเดียวที่เข้าครองสายสัญญาณเพื่อส่งข้อมูล สถานีที่ต้องการส่งข้อมูลต้องการตรวจสอบสายสัญญาณว่ามีสถานีอื่นใช้สายอยู่หรือไม่ ถ้าสายสัญญาณว่างก็ส่งข้อมูลได้ทันที หากไม่ว่างก็ต้องคอยจนกว่าสายสัญญาณว่างจึงจะส่งข้อมูลได้ ขณะที่สถานีหนึ่ง ๆ กำลังส่งข้อมูลก็ต้องตรวจสอบสายสัญญาณไปพร้อมกันด้วยเพื่อตรวจว่าในจังหวะเวลาที่ใกล้เคียงกันนั้นมีสถานีอื่นซึ่งพบสายสัญญาณว่างและส่งข้อมูลมาหรือไม่ หากเกิดกรณีเช่นนี้ขึ้นแล้ว ข้อมูลจากทั้งสองสถานีจะผสมกันหรือเรียกว่า การชนกัน (Collision) และนำไปใช้ไม่ได้ สถานีจะต้องหยุดส่งและสุ่มหาเวลาเพื่อเข้าใช้สายสัญญาณใหม่ ในเครือข่ายอีเทอร์เน็ตที่มีสถานีจำนวนมากมักพบว่าการทานจะล่าช้าเพราะแต่ละสถานีพยายามยึดช่องสัญญาณเพื่อส่งข้อมูลและเกิดการชนกันเกือบตลอดเวลา โดยไม่สามารถกำหนดว่าสถานีใดจะได้ใช้สายสัญญาณเมื่อเวลาใด อีเทอร์เน็ตจึงไม่มีเหมาะกับการใช้งานในระบบจริง

2.10 Base 210 Base 2 เป็นรูปแบบต่อสายโดยใช้สาย Coaxial มีเส้นศูนย์กลาง 1/4 นิ้ว เรียกว่า Thin Coaxial สายจะมีความยาวไม่เกิน 180 เมตรมาตรฐาน 10 Base 2 ความหมาย 10 คือความเร็วในการส่งข้อมูล 10 Mbps Base คือการส่งข้อมูลแบบ Baseband 2 คือความยาวสูงสุด 200 เมตร (185 – 200 เมตร ) 10 Base 2 เป็นแบบเครือข่ายที่ใช้สาย Coaxial แบบบาง (Thin Coaxial) ชนิด RG-58 A/U โดยจะมี Teminator (50 โอมห์ ) เป็นตัวปิดหัว และท้ายของเครือข่าย

ข้อกำหนดของ 10 Base 2• ใช้สาย Thin Coaxial ชนิด RG-58 A/U
• หัวที่ใช้ต่อกับสายคือ หัว BNC
• ห้ามต่อหัว BNC เข้ากับ LAN Card โดยตรง ต้องต่อด้วย T-Connector เท่านั้น
• เครื่องตัวแรกและตัวสุดท้ายในเครือข่าย ต้องปิดด้วย Terminator ขนาด 50 โอมห์
• ความยาวของสายแต่ละเส้นที่ต่อระหว่าง Workstation ต้องมีความยาวไม่ต่ำกว่า 0.5 เมตร
• สายสัญญาณต่อ 1 Segment ยาวไม่เกิน 200 เมตร (185 – 200 เมตร )
• ใน 1 Segment สามารถต่อเป็นเครือข่ายได้ไม่เกิน 30 เครื่อง
• ในกรณีที่ต้องการต่อมากกว่า 30 เครื่อง ต้องมีอุปกรณ์ที่เรียกว่า Repeater เพื่อเพิ่ม Segment โดยสามารถต่อ Repeater ได้ไม่เกิน 4 Repeater ( ดังนั้น 4 Repeater = 5 Segment)
• ความยาวของสายสัญญาณทั้งหมด สูงสุด 1000 เมตร (200 เมตรต่อ 1 Segment คูณด้วย 5 Segment)
• จำนวนเครื่องสูงสุดในเครือข่าย 150 เครื่อง (30 เครื่องต่อ 1 Segment คูณด้วย 5 Segment

3.10 Base 5 ความหมาย 10 คือความเร็วในการส่งข้อมูล 10 Mbps Base คือการส่งข้อมูลแบบ Baseband
• คือความยาวสูงสุด 500 เมตร 10 Base 5 เป็นแบบเครือข่ายที่มีลักษณะคล้ายกับ 10 Base 2 แต่จะใช้สาย Coaxial แบบหนา
(Thick Coaxial หรือ Back Bone) เป็นสายชนิด RG-8 ซึ่งสายจะเป็นสีเหลืองและมีขนาดใหญ่โดย Teminator (50 โอมห์ ) เป็นตัวปิดหัว และท้ายของเครือข่าย เครือข่ายชนิด 10 Base 5 นี้ จะมีต่อจำนวนเครื่องได้มากกว่า และต่อในระยะได้ไกลกว่าแบบ 10 Base 2 แต่ในปัจจุบันมักไม่นิยมใช้กัน เนื่องจากต้องใช้ค่าใช้จ่ายสูง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ควรทราบ มีดังนี้ แผงวงจรเครือข่าย (LAN Card) คือแผงวงจรเครือข่ายที่เสียบไว้กับตัวเครื่อง และเชื่อมต่อด้วยสายเพื่อต่อเป็นเครือข่าย โดยแผงวงจรเครือข่ายนี้จะมีหัวเสียบเป็นชนิด DIX Connector Socket ( LAN Card ) ชนิด AUI ใช้กับมาตรฐาน 10 Base 5ข้อกำหนดของ 10 Base 5
• ใช้สาย Thick Coaxial ชนิด RG-8
• หัวที่ใช้ต่อกับสายคือหัว DIX หรือบางทีอาจจะเรียกว่า หัว AUI
• เครื่องตัวแรกและตัวสุดท้ายในเครือข่ายต้องปิดด้วย N-Series Terminator ขนาด 50 โอมห์• ระยะห่างระหว่าง Transceiver ต้องไม่ต่ำกว่า 2.5 เมตร
• Transceiver Cable จะมีความยาวได้ไม่เกิน 50 เมตร
• ใน 1 Segment สามารถต่อเป็นเครือข่ายได้ไม่เกิน 100 เครื่อง
• สายสัญญาณต่อ 1 Segment ยาวไม่เกิน 500 เมตร
• ในกรณีที่ต้องการต่อมากกว่า 100 เครื่อง ต้องมีอุปกรณ์ที่เรียกว่า Repeater เพื่อเพิ่มSegment โดยสามารถต่อ Repeater ได้ไม่เกิน 4 Repeater (ดังนั้น 4 Repeater = 5 Segment)
• ความยาวของสายสัญญาณทั้งหมด สูงสุด 2,500 เมตร (500 เมตรต่อ 1 Segment คูณด้วย 5 Segment )
•จำนวนเครื่องสูงสุดในเครือข่าย 500 เครื่อง (100 เครื่องต่อ Segment คูณด้วย 5 Segment )

4.100BASE-FX 100BASE-FX Multimode LC SFP Transceiver (P/N: DEM-211) มอบประสิทธิภาพการทำงานระดับสูงให้กับแอพพลิเคชันการสื่อสารข้อมูลแบบซีเรียลออพติคัลดาต้า นอกจากนั้นยังประกอบด้วยตัวเชื่อมต่อที่มีการทำงานแบบดูเพล็กซ์ LC รวมถึงยังสามารถใช้งานร่วมกับมาตรฐานการสื่อสารแบบ IEEE 802.3u เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพขึ้นเป็น 100 เมกะบิตต่อวินาที ในโหมดฮาฟดูเพล็กซ์สำหรับแอพพลิเคชันเคเบิลไฟเบอร์ ทั้งนี้การอินทริเกรทตัวรับส่งคุณภาพสูงของดีลิงค์นั้นก็เพื่อให้การทำงานมีประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้น ปราศจากอาการกระตุกของสัญญาณ และเพื่อให้การเชื่อมต่อแบบออพติคัลสามารถขยายออกไปได้มากยิ่งขึ้นโดยไม่มีการลดประสิทธิภาพลง อุปกรณ์นี้จึงช่วยให้การถ่ายโอนข้อมูลในระยะสั้น ระยะกลาง และระยะทางที่ไกลๆ ทั้งในส่วนของการใช้งานภายในอาคาร โรงงาน แคมปัสและในตัวเมืองมีเสถียรภาพยิ่งขึ้น และเมื่อสวิตช์ 2 ตัวมีการเชื่อมต่อกันแล้วโดยใช้ตัวรับส่ง DEM-211 ทั้ง 2 ทาง ผู้ใช้งานจะได้รับอัตราเร็วของการเชื่อมต่อที่ระดับ 155 เมกะบิตต่อวินาที ยิ่งไปกว่านั้นยังได้มอบการเชื่อมต่อแบบไฟเบอร์ออพติค 100BASE-FX SFP บนพอร์ต Gigabit combo SFP ให้กับสวิตช์ของดีลิงค์อีกด้วย

5.100 Base F100Base-Fสาย AMP OSP (Outside Plant) ถูกออกแบบมาเฉพาะ เพื่อการติดตั้งในพื้นที่ขนาดใหญ่ เพราะสามารถติดตั้งไว้บนเสาโยง หรือลอดท่อใต้ดิน เพื่อเชื่อมต่อระหว่างอาคาร สายถูกทดสอบตามมาตรฐาน TIA ซึ่งเป็นข้อกำหนดสำหรับสายไฟเบอร์ออปกติ ทั้งยังมีคุณสมบัติเกินมาตรฐานไปอีกขั้น จึงรองรับได้ทั้ง 100Base-F, 155/622 Mbps ATM และกิกะบิตอีเธอร์เน็ต

ออกข้อสอบเรื่อง sebnermask and ip address

.ข้อสอบปรนัย

1. IP Address : 192.0.0.0 subnet mask คือข้อใด
ก. 255.0.0.0
ข. 255.255.0.0
ค. 255.255.255.0
ง. 255.255.255.255
2. IP Address : 192.168.0.0 subnet mask คือข้อใด
ก. 255.0.0.0
ข. 255.255.0.0
ค. 255.255.255.0
ง. 255.255.255.255
3. IP Address : 192.168.199.0 subnet mask คือข้อใด
ก. 255.0.0.0
ข. 255.255.0.0
ค. 255.255.255.0
ง. 255.255.255.255
4. IP Address : 192.168.199.99 subnet mask คือข้อใด
ก. 255.0.0.0
ข. 255.255.0.0
ค. 255.255.255.0
ง. 255.255.255.255
5. subnet mask 130.5.5.25 สามารถแสดงเป็นเลขฐานสองได้เท่าใด
ก. 10000010.00000101.00000101.00011001
ข. 10000010.00000101.00000101.00001101
ค. 10000010.00000101.00000101.00010001
ง. 10000010.00000101.00000101.00011000
6. network address จะอยู่ในช่วง 1~126 ส่วน default Subnet Mask มีค่าเท่าใด
ก. 255.0.0.0
ข. 255.255.0.0
ค. 255.255.255.0
ง. 255.255.255.255
7. network address จะอยู่ในช่วง 1~126 ส่วน default Subnet Mask มีค่าเท่าใด
ก. 255.0.0.0
ข. 255.255.0.0
ค. 255.255.255.0
ง. 255.255.255.255
8. network address จะอยู่ในช่วง 128~191 ส่วน default Subnet Mask มีค่าเท่าใด
ก. 255.0.0.0
ข. 255.255.0.0
ค. 255.255.255.0
ง. 255.255.255.255
9. network address จะอยู่ในช่วง 192~ 223 ส่วน default Subnet Mask มีค่าเท่าใด
ข. 255.0.0.0
ข. 255.255.0.0
ค. 255.255.255.0
ง. 255.255.255.255
10. network address จะอยู่ในช่วง 240~ 247 ส่วน default Subnet Mask มีค่าเท่าใด
ค. 255.0.0.0
ข. 255.255.0.0
ค. 255.255.255.0
ง. 255.255.255.255


ข้อสอบอัตนัย
1. จงหาค่าของ Subnet Maskให้เขียน Defualt Subnet Mask ให้อยู่ในเลขฐานสอง ในที่นี้ 192.168.0.0 ในในคลาส A ดังนั้น Subnet Mask คือ 255.0.0.0 เมื่อเขียนเป็นเลขฐานสองจะได้เท่ากับ
..........................................................................................................
เฉลย 11000000.00000000.00000000.00000000

2. จงหาค่าของ Subnet Maskให้เขียน Defualt Subnet Mask ให้อยู่ในเลขฐานสอง ในที่นี้ 192.168.0.0 ในในคลาส B ดังนั้น Subnet Mask คือ 255.255.0.0 เมื่อเขียนเป็นเลขฐานสองจะได้เท่ากับ
............................................................................................................
เฉลย 11000000.10101000.00000000.00000000

3. จงหาค่าของ Subnet Maskให้เขียน Defualt Subnet Mask ให้อยู่ในเลขฐานสอง ในที่นี้ 192.168.168.0 ในในคลาส c ดังนั้น Subnet Mask คือ 255.255.255.0 เมื่อเขียนเป็นเลขฐานสองจะได้
.....................................................................................................
เฉลย 11000000.10101000. 10101000.00000000

4. จงหาค่าของ Subnet Maskให้เขียน Defualt Subnet Mask ให้อยู่ในเลขฐานสอง ในที่นี้ 169.187.0.0 เมื่อเขียนเป็นเลขฐานสองจะได้เท่า
.......................................................................................................
เฉลย 10101001.10111011.00000000.00000000

5. จงหาค่าของ Subnet Maskให้เขียน Defualt Subnet Mask ให้อยู่ในเลขฐานสอง ในที่นี้ 192.168.0.0 ในในคลาส B ดังนั้น Subnet Mask คือ 255.255.0.0 เมื่อเขียนเป็นเลขฐานสองจะได้เท่ากับ
........................................................................................................
เฉลย 11000000.10101000.00000000.00000000

6. วิธีการคำนวณหา Network Address จาก Subnet Mask หาได้อย่างไร
.........................................................................................................
เฉลย สมมติว่า IP Address เป็น 168.108.2.1 นำมาเขียนให้อยู่ในรูปเลขฐานสองแล้วนำมาคูณกันก็จะได้ Network Address

7.Mark 6 bit ของ Claass B ได้กี่ subnet
..........................................................................................................
เฉลย 2^6 = 64 - 2 = 62 Subnet

8.mark 7bit ได้ class B หมายเลข subnetmark คือ อะไร
..........................................................................................................
เฉลย 255.255.254.0 subnetmark

9. mark 2 bit ได้ class C ได้กี่ host
..........................................................................................................
เฉลย 2^6=64-2=62 host

10. mark 4 bit ได้ class A ได้กี่ subnet
..........................................................................................................
เฉลย 2^4 = 16 -2 = 14 subnet

วันอังคารที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2551

การบ้านเรียนวันที่11 มิถุนายน 2551

การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูล (Data Communications)
การรับ – ส่ง โอนย้ายหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลและสารสนเทศระหว่างอุปกรณ์สื่อสารต่าง ๆ ผ่านสื่อนำข้อมูล

องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูล
1. ผู้ส่งข้อมูล (sender) หรืออุปกรณ์ส่งข้อมูล คือสิ่งที่ทำหน้าที่ส่งข้อมูลไปยังจุดหมายที่ต้องการ
2. ผู้รับข้อมูล (Receiver) หรืออุปกรณ์รับข้อมูล คือสิ่งที่ทำหน้าที่รับข้อมูลที่ถูกส่งมาให้
3. ข้อมูล (Data) คือข้อมูลที่ถูกส่ง เช่น เสียง ข้อความ ภาพ และอื่น ๆ
4. สื่อนำข้อมูล (Media) คือสิ่งที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการถ่ายข้อมูลจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง
5. โปรโตคอล (Protocol) คือกฎหรือระเบียบวิธีที่ถูกกำหนดขึ้นเพื่อการสื่อสารข้อมูล ให้ผู้รับและผู้ส่งเข้าใจตรงกันในสิ่งที่ส่ง
................................................................................................


พื้นฐาน Protocol
Protocol คือ ระเบียบวิธีการที่กำหนดขึ้นสำหรับสื่อสารข้อมูล ให้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้อย่างถูกต้อง
Transmission Control Protocol (TCP)
เป็น Protocol ที่ให้บริการแบบ Connection-Oriented คือจะทำการสร้างการเชื่อมต่อระหว่างต้นทาง (Source) และ ปลายทาง (Destination) ก่อนที่จะทำการรับส่งข้อมูล และจะทำการส่งข้อมูลทั้งหมดจนแล้วเสร็จ ทำให้มีความน่าเชื่อถือมาก
Internet Protocol (IP)
เป็น Protocol ที่ทำหน้าที่จัดการเกี่ยวกับการรับ-ส่ง Packet เป็น Protocol ที่ให้บริการแบบ Connectionless คือจะไม่ทำการสร้างการเชื่อมต่อระหว่างต้นทาง (Source) และ ปลายทาง (Destination) ก่อนที่จะทำการรับส่งข้อมูล กล่าวคือในการส่งข้อมูลแต่ละครั้งนั้น Source จะทำการส่งข้อมูลออกไปยัง Destination เลยโดยไม่ได้ทำการตกลงกันก่อน ทำให้มีความน่าเชื่อถือน้อยเพราะข้อมูลอาจสูญหายระหว่างทางได้
Media Access Control (MAC) Address
MAC Address คือ หมายเลขประจำตัวของอุปกรณ์ที่ต่ออยู่ในเครือข่าย ซึ่งกำหนดมาจากบริษัทผู้ผลิต H/W เป็นตัวเลขฐาน 16 จำนวน 12 ตัว ซึ่งจะไม่ซ้ำกันและแก้ไขไม่ได้

IP Address
IP Address หรือ หมายเลขไอพี คือ หมายเลขประจำตัวที่ใช้ในการระบุตัวตนของอุปกรณ์ต่างๆ เช่น computer, router และ server ที่อยู่ในเครือข่าย ซึ่งปัจจุบันที่ใช้งานอยู่นี้จะเป็นเวอร์ชั่น 4 (IPV4) ซึ่งจะต่างกับ MAC Address ตรงที่ค่า IP Address นั้นสามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ แต่ในเครือข่ายเดียวกันต้องไม่ซ้ำกันต้อง IP Address เป็นชุดตัวเลขฐานสองขนาด 32 บิต โดยเพื่อให้ง่ายในการจำจึงแบ่งออกเป็น 4 ส่วนๆ ละ 8 บิต (หรือ 1 Byte) คั่นแต่ละส่วนด้วยจุด (.) แล้วแทนค่าเป็นเลขฐาน 10 แต่ละส่วนมีค่าอยู่ระหว่าง 0 - 255 ตัวอย่างเช่น 11000000.00000001.00000010.00000011 เขียนแทนค่าเป็นเลขฐาน 10 ได้เป็น 192.1.2.3

Class ของ IP Address
IP Address นั้นจะแบ่งออกเป็น 5 classes คือ A, B, C, D และ E แต่ขณะนี้ใช้เพียง 3 classes คือ Class A, Class B และ Class C ซึ่งค่า IP Address นั้นจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ดังรูปด้านล่าง ส่วนแรกเป็น Network number ส่วนที่สองเป็น Host number คือ คอมพิวเตอร์ที่อยู่ในเครือข่ายนั้น

IP Address Class A
Class A ใช้ไบต์แรก (8 bit) เป็น Network number และให้บิตแรก เป็น 0 จึงมี Network number ระหว่าง 0 - 127 (126 เครือข่าย) ส่วน Host number ใช้ 3 ไบต์ (24 บิต) จึงมีคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายได้ถึง 16,777,124 เครื่อง เหมาะสำหรับเครือข่ายส่วนบุคคลช่วงของ IP Address ใน Class A คือ ตั้งแต่ 1.0.0.0 - 127.255.255.255

IP Address Class B
Class B ใช้ 2 ไบต์แรก (16 bit) เป็น Network number และให้ 2 บิตแรก เป็น 10 จึงมี Network number เท่ากับ 2 ยกกำลัง (16-2) หรือ 16,382 เครือข่าย ส่วน Host number ใช้ 2 ไบต์ (16 bit) จึงมีคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายได้ถึง 65,534 เครื่องช่วงของ IP Address ใน Class B คือ ตั้งแต่ 128.0.0.0 - 191.255.255.255

IP Address Class C
Class C ใช้ 3 ไบต์แรก (24 bit) เป็น Network number และให้ 3 บิตแรก เป็น 110 จึงมี Network number เท่ากับ 2 ยกกำลัง (24-3) หรือ 2,097,152 เครือข่าย ส่วน Host number ใช้ 1 ไบต์ (8 bit) จึงมีคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายได้ถึง 254 เครื่องช่วงของ IP Address ใน Class C คือ ตั้งแต่ 192.0.0.0 - 223.255.255.255

IP Address Class D
Class D จะกำหนดให้ 4 บิตแรก เป็น 1110 ใช้ในการทำ Multicasting ช่วงของ IP Address ใน Class D คือ ตั้งแต่ 224.0.0.0 - 239.255.255.255

IP Address Class E
Class E จะกำหนดให้ 5 บิตแรก เป็น 11110 โดยสงวนไว้สำหรับอนาคต ช่วงของ IP Address ใน Class E คือ ตั้งแต่ 240.0.0.0 - 247.255.255.255

Private IP Address
Private IP Address คือ IP Address ที่กำหนดขึ้นสำหรับการใช้งานส่วนตัวหรือภายในองค์กร โดยสามารถใช้งานได้เลยโดยไม่ต้องทำการลงทะเบียน ซึ่งค่า Private IP Address นี้หากมีการส่งข้อมูล (Packet) โดยส่วนมากแล้ว Router จะทำการ Drop ทิ้งไปเอง หรือไม่ก็จะทำการส่งต่อไปเรื่อยๆจนหมดอายุไปเอง ค่า IP Address ที่กำหนดให้เป็น Private IP Address นั้นมี ดังนี้Class A10.0.0.0 - 10.255.255.255Class B172.16.0.0 - 172.31.255.255Class C192.168.0.0 - 192.168.255.255

IP Address version 6
IP address เวอร์ชั่น 4 (IPV4) ซึ่งใช้อยู่ปัจจุบันนั้น ทางทฤษฏีสามารถใช้ได้จำนวน 232 เครื่อง แต่จากการแบ่งออกเป็น Class ย่อย และการเพิ่มจำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์อย่างมากมาย เป็นผลให้ จำนวน IP Address จะมีไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้งาน โดยทางแก้ของปัญหานี้ทำได้โดยการเพิ่มจำนวนบิตขึ้น และเรียกว่า IPv6 โดยจะมีขนาด 128 bit

Subnet และ Subnet Mask
Subnet คือ การแบ่งเครือข่ายใหญ่ให้เป็นหลายเครือข่ายย่อยโดยการนำเอาบิตที่เป็นส่วนของ Host ID มาเป็น Network ID ผลที่ได้ คือ จำนวน Network ID หรือ เครือข่ายจะเพิ่มขึ้น แต่จำนวนของ Host ID หรือ เครื่องคอมพิวเตอร์จะลดลงSubnet Mask คือ ตัวเลขที่ใช้แสดงว่าส่วนไหนของ IP Address เป็น Network ID และส่วนไหนเป็น Host ID ซึ่ง Subnet Mask จะมีความยาวเท่ากับ IP Address คือ 32 bit โดยในส่วน Network ID นั้นทุก bit จะเป็น 1 และในส่วน Host ID นั้นทุก bit จะเป็น 0
วัตถุประสงค์หรือเหตุผลในการต้องทำ Subnet นั้น ก็เพื่อให้ง่ายต่อการจัดการระบบเครือข่าย และป้องกันการมีข้อมูลที่ไม่จำเป็นมากเกินไปในเครือข่าย โดยเฉพาะใน Class A และ B ซึ่งมีจำนวน Host ได้ 16,777,124 และ 65,534 ตามลำดับ ซึ่งถ้าไม่ทำการแบ่ง Subnet แล้วเครือข่ายจะใหญ่มาก ทำให้ปริมาณ Broadcast มากเกินไป

โดยการทำ Subnet นั้นมีหลักการอยู่ 2 ข้อ คือ
1. หมายเลขส่วนที่เป็น Subnet (Subnet ID) นั้นไม่สามารถเป็น 0 ได้ทั้งหมด โดยหากเป็น 0 ทั้งหมดจะเป็นการอ้างถึง " Network "
2. หมายเลขส่วนที่เป็น Subnet (Subnet ID) นั้นไม่สามารถเป็น 1 ได้ทั้งหมด โดยหากเป็น 1 ทั้งหมดจะใช้สำหรับการ " Broadcast "วิธีการระบุ Network ของ Subnetการระบุ Network ของ Subnet นั้นทำได้โดยการ AND กันระหว่าง IP Address กับ Subnet Mask เช่น IP Class B 172.20.33.24 และ Subnet Mask 255.255.224.0


การคำนวณจำนวน Network และ Host
จำนวน Host ใน Subnet = 2n - 2 เมื่อ n คือ จำนวน bit ของหมายเลข Host
จำนวน Subnet = 2n - 2 เมื่อ n คือ จำนวน bit ของหมายเลข Subnet
...............................................................................................



แบบฝึกหัด

แปลง IP-209.123.226.168
=11010001.01110001.11100010.10101000

-198.60.70.81
=11000110.00111100.01000110.01010001

CIDR-บอกหมายเลข
Subnet Mask-บอกจำนวน Host CIDR ที่ให้คือ
/22
Subnet Mask = 11111111.11111111.11111100.00000000
= (255+255+252+0)
= (255.255.252.0)
Hostจะได้ 2^10 = 1024 -2 คือลบด้วยHostแรกและHostสุดท้าย=1022
..................................................................................................

/18
Subnet Mask = 11111111.11111111.11000000.00000000
= (255+255+192+0)
= ( 255.255.192.0)
Hostจะได้ 2^14 = 16384 – 2 คือลบด้วยHostแรกและHostสุดท้าย = 16382
...................................................................................................

/27
Subnet Mask = 11111111.11111111.11111111.11100000
= (255.255.255.224)
= (255.255.255.224)
Host จะได้ 2^5 = 32- 2 คือลบด้วยHostแรกและHostสุดท้าย = 30

.....................................................................................................


คำถาม
ข้อสอบเรื่อง IP 5 ข้อ
1. IP Address สามารถแบ่งออกได้เป็นกี่ classes
ก. 2 classes
ข. 3 classes
ค. 4 classes
ง. 5 classes

2. IP Address เป็นชุดตัวเลขฐานสองมีขนาดกี่บิต
ก. 8 บิต
ข. 16 บิต
ค. 32 บิต
ง. 64 บิต

3. การแบ่งตัวเลขออกเป็น 4 ส่วนๆ ละ 8 บิตจะมีค่าเป็นกี่ไบต์
ก. 1 ไบต์
ข. 2 ไบต์
ค. 3 ไบต์
ง. 4 ไบต์

4. การแทนค่าเป็นเลขฐาน แต่ละส่วนมีค่าอยู่ระหว่าง 0 - 255 คือเลขฐานใด
ก. เลขฐาน 2
ข. เลขฐาน 8
ค. เลขฐาน 10
ง. เลขฐาน 16

5. IP Address Class A สามารถเชื่อมต่อได้กี่เครือข่าย
ก. 100 เครือข่าย
ข. 112 เครือข่าย
ค. 120 เครือข่าย
ง. 126 เครือข่าย



ข้อสอบเรื่อง CIDR 5 ข้อ
1. Internet Protocol ดั้งเดิมกำหนด IP address เป็นกี่ชั้น
ก. 1 ชั้น
ข. 2 ชั้น
ค. 3 ชั้น
ง. 4 ชั้น

2. CIDR network address จะมีลักษณะแบบใด
ก. 10.10.20.1
ข. 182.167.0.1
ค. 192.30.280.00/18
ง. 193. 182.167.1

3. การเชื่อมต่อสายการสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ จำแนกได้กี่ประเภท
ก. 1 ประเภท
ข. 2 ประเภท
ค. 3 ประเภท
ง. 4 ประเภท

4. ทิศทางการส่งข้อมูลจำแนกได้เป็น กี่รูปแบบ
ก. 2 รูปแบบ
ข. 3 รูปแบบ
ค. 4 รูปแบบ
ค. 5 รูปแบบ

5. ขั้นตอนการแปลงสัญญาณดิจิตอลจากคอมพิวเตอร์เป็นสัญญาณอนาลอก นี้เรียกว่า
ก. Modulation
ข. Demodulation
ค. Media
ง. sender

วันอังคารที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2551

ทดสอบในห้องเรียน

202 . 29 . 57 . 2
11001010 00011101 00111001 00000010
..................................................................................

11111111.11111111.11111111.11100000
/27(128+64+32=224)
2^5=32-2 =30
class C

..................................................................................
11111111.11111111.11110000.00000000
/12(128+64+32+16=240)
2^12=1096-2 =1094
class C
Data Communications ,Wednesday,2008
DataCommunications ,Wednesday,2008
From:kimsath sath
(mailto:kimsathsath@yahoo.com
http://kimsath.blogspot.com/From:Gushttp://kimsath.blogspot.com/
From:Guszaa
http://guszaa.blogspot.com/
From:นายจำนงค์ ศรีมาศ
(srimas2007@hotmail.com)http://jumnong.blogspot.com/
From:ชยาพงษ์ วังตะเคน
(mo.04@hotmail.com)http://thekop-momo.blogspot.com/
From:sulak Phonboon
(mailto:sulak_laky@hotmail.com)http://sulak-noy.blogspot.com/From:khamsanhttp://sulaknoy.blogspot.com/
From:khamsan khampang (khampang3@hotmail.com)
http://khampang.blogspot.com/
From:ชาตรี แก้วมณี (mailto:chatree_05@thaimail.com)http://chatree-ton.blogspot.com/From:มยุลีhttp://chatree-ton.blogspot.com/
From:มยุลี เสมศรี (mayulee8787@hotmail.com)
http://mayulee8787.blogspot.com/
From:นางสาว จันทร์ กฤษวี (janjun1@hotmail.com)
http://janjun.blogspot.com/
From:นางสาวประภาศิริ สุทธิหนู(nemo_yung@hotmail.com)
http://lylulnlgl.blogspot.com/
From:sam an leakmuny (leakmuny@yahoo.com)
http://leakmuny-sam.blogspot.com/
From:ณัชพร ไชยมูล (clash_oud@hotmail.com)
http://khukhan-bantim.blogspot.com/
From:วาฤดี สัมนา (waruedee_49@hotmail.com)
http://waruedee.blogspot.com/
From:warawood wisetmuen (nicnicnic_02@hotmail.com)
http://warawood.blogspot.com/
From:r y (overnarn@hotmail.com)
http://tcomtoo.blogspot.com/
From:สุพรรษา ท่วาที (supansa_56@hotmail.com)
http://puy-supansa.blogspot.com/
From:อรอุมา พละศักดิ์ (tep_ratree@hotmail.com)
http://tepratree.blogspot.com/
From:สายรุ่ง พงษ์วัน (sayrung_@hotmail.com)
http://koraikoo.blogspot.com/
From:ศิริกัญญา ศิริญาณ (tumkatong@gmail.com)
http://tumkatong.blogspot.com/
From:พรพรรณ สังขาว (aaa.37@hotmail.com)
http://oake-pornpan.blogspot.com/
From:นายเทิดศักดิ์ บุญรินทร์ (ton_therdsak783@hotmail.com)
http://tonstaff.blogspot.com/
From:นิพนธ์ ทรัพย์ประเสริฐ (nipoon_karn@hotmail.com
http://karnline.blogspot.com/
From:ทัสนีย์ ประสาร (tatsanee_1234@thaimail.com)
http://ningza-tatsanee.blogspot.com/
From:wasan dujda (nong2445572@hotmail.com)
http://newcastle-wasan.blogspot.com/
From:นิพนธ์ ทรัพย์ประเสริฐ์ (kan-49@hotmail.com)
http://teerapon123.blogspot.com/
From:sophang sophaly (phangsophaly@hotmail.com)
http://sophaly-phang.blogspot.com/

ข้อสอบเรื่อง OSI Model

ข้อสอบเรื่อง OSI Model
1.) โพรโทคอล หรือ โปรโตคอล (communications protocol) มีชื่อภาษาไทยเรียกว่าอย่างไร
ก. เกณฑ์วิธีการสื่อสาร
ข. ผู้ส่งสาร
ค. ผู้รับสาร
ง.โทรคมนาคม
2.) OSI Model ได้แบ่ง ตามลักษณะของออกเป็นกี่กลุ่ม
ก. 1 กลุ่ม
ข. 2 กลุ่ม
ค. 3 กลุ่ม
ง. 4 กลุ่ม
3.) การเพิ่ม header เป็นชั้นๆ เรียกว่า อย่างไร
ก. การ Encapsulate
ข. การ Trailer
ค. การ Physical Layer

ง. การ Presentation Layer
4.) มาตรฐานคุณสมบัติทางกายภาพของฮาร์ดแวร์ที่ใช้เชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์มีกี่ระบบ
ก. 2 ระบบ
ข. 3 ระบบ
ค. 4 ระบบ
ง. 5 ระบบ
5.) แบบจำลอง OSI จะแบ่งการทำงานของระบบเครือข่ายออกเป็นกี่ชั้น
ก. 4 ชั้น
ข. 5 ชั้น
ค. 6 ชั้น
ง. 7 ชั้น



เอกสารอ้างอิง

www.udonoa.com/www-tam/Knowledge/OSImodel.html - 12k
http://support.mof.go.th/lan/osi.htm
- บางภาพจาก สไลด์ประกอบการเรียนวิชา Computer Commuication Networks,อ.สมนึก
- เอกสิทธิ์ วิริยจารี,เรียนรู้ระบบเน็ตเวิร์กจากอุปกรณ์ของ CISCO, สำนักพิมพ์ ซีเอ็ด.
- ธวัชชัย ชมศิริ,ติดตั้ง/ดูแลระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์,สำนักพิมพ์ ซีเอ็ด.
- เปิดโลก TCP/IP และโปรโตคอลของอินเตอร์เน็ต, สำนักพิมพ์ provision.

วันอังคารที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2551

1. ตาราง ASCII มีทั้งหมดกี่ตัวอักษร
ก. 80 ตัว
ข. 100 ตัว
ค. 110 ตัว
ง. 128 ตัว

2. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการแทนค่ารหัสของคอมพิวเตอร์ ?
ก. พื้นฐานการแทนค่ารหัสข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ใช้ระบบเลขฐานสอง
ข. รหัส ASCII ถูกใช้เพื่อแทนค่าเลขจำนวนในทางคอมพิวเตอร์
ค. การใช้รหัส UNICODE สามารถรองรับการแทนค่าข้อมูลได้จำนวนมากกว่าการใช้รหัส ASCII
ง. รหัส UNICODE เป็นการแทนค่ารหัสอักขระที่สามารถรองรับจำนวนตัวอักขระได้มากที่สุด

3. คอมพิวเตอร์แปลงอักขระและสัญลักษณ์เป็นตัวแทนสัญลักษณ์และอักขระที่เป็นตัวเลข
ในช่วงทศวรรษใด
ก. ทศวรรษ 1960
ข. ทศวรรษ 1961
ค. ทศวรรษ 1962
ง. ทศวรรษ 1963


เฉลย
ข้อ 1 . ง
ข้อ 2 . ค
ข้อ 3 . ก

แนะนำตัวเอง

ข้าพเจ้า นายจำนงค์ ศรีมาศ
วิทยาการคอมพิวเตอร์ ปี 3
รหัสนักศึกษา 4912252103

งานที่ส่งอาจารย์
ชื่อ
JUMNONG
4A,55,4D,4E,4F,4E,47
0100 1010,0101 0101,0100 1101,0100 1110,0100 1111,0100 1110,0100 0111

นามสกุล
SRIMAS
53,52,49,4D,41,53
0101 0011,0101 0010,0100 1001,0100 1101,0100 0001,0101 0011

เบอร์โทร
087-6478490
30,38,37,2D,36,34,37,38,34,39,30
00110000,00111000,00110111,00101101,00110110,00110100,00110111,00111000,00110100,00111001,00110000