วันศุกร์ที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2551

e-learning ที่เกี่ยวข้อง

2.1 e-learning
http://cs.ssru.ac.th/sodazaa/Internet/Test.php
มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา

http://www.josephyouth.th.gs/web-j/angsawang1
นายปรีชา แจ้งสว่าง และนายวีระวุฒิดวงน้อย

http://www.khaosingtoe.th.gs/web-k/ompa/shool.htm

http://www.radompon.com/wb025.php

http://e-learning.tu.ac.th/
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

http://e-learning.mfu.ac.th/
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

http://regelearning.payap.ac.th/
มหาวิทยาลัยพายัพ

http://elearning.utcc.ac.th/lms/main/default.asp
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

http://md.rmutk.ac.th/
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

http://e-learning.kku.ac.th/
มหาวิทยาลัยขอนแก่น

http://space.kbu.ac.th/el/index.asp
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

http://elearning.dusit.ac.th/xedu/Home.aspx
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต

http://sutonline.sut.ac.th/moodle/mod/resource/view.php?id=7790
มหวิทยาลัยเทคโนดลยีสุรนารี

http://www.academic.hcu.ac.th/e-learning/e-learning.html
มหวิทยาลัยหัวเฉลียวเฉลิมพระเกียรติ


2.2 แหล่งเรียนรู้ที่น่าสนใจ
http://www.josephyouth.th.gs/web-j/angsawang1
นายปรีชา แจ้งสว่าง และนายวีระวุฒิดวงน้อย

เหตุผลที่สนใจ
ในบทเรียน นี้ก็จะประอบไปด้วย
ความหมายของการสื่อสารข้อมูล ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายความปลอดภัยระบบเครือข่าย
การตรวจซ่อมหาจุดอ่อนของระบบ
ออกแบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตwiless lan TCP/Ipและ อินเตอร์เน็ต
ใส้ใยแก้วนำแสง การติดตั้ง connetor รวมไปถึงการออกแบบระบบเครือข่ายภายในโรงเรียน
บทนำ ทฤษฏีและหลักการ วิธีการศึกษา ผลการวิจัย สรุป รวมไปถึงการรายงานเกี่ยวกับเครือข่ายความเร็วสูง(SDH)

คำอธิบายรายวิชา (Course Description)

เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการกระจาย
(Computer Network and Distributed)


เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการกระจาย 4122102
.....ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ การสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์กับ
เทอร์มินอลขั้นของ โปรโตคอลมาตราฐาน OSI รูปแบบต่างๆของเตรื่อข่าย
X.25Networkและดิจิตอล Network การประมวลผลแบบตาม ลำดับและแบบ
ขนาน การไปป์ไลน์(Pipelining) การประมวลผลแบบ เวคเตอร์ ( vecter
Processing )การประมวลผลแบบอะเรย์ ( Array Processors ) มัลติโพร
เซสเซอร์และฟอลท์โทเลอร์แรนซ์ ( Fault Tolerance )...

วันพฤหัสบดีที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2551

ออกแบบ optical fiber communication

ออกแบบ optical fiber communication
ข้อ1.
30 mbit ระยะทาง 45 km

1.Preformanc = ไม่ระบุ
2.BL = 30*45 =1,350
3.เลือก optical source เลือก LED power ที่ -15
เพราะ ราคาประหยัด
4.เลือก optical fiber เลือก Graded Index Multimode
เพราะ ลองรับ BL แบร์นวิด ที่ 1.5 GHz/km
5.เลือก optical detector เลือก PIN - FET มีค่า sensitivity -60
เพราะ ราคาประหยัด
6.Lmax = Po – Por
แทนค่า (-15) - (-60)
= 65
7.Lf = Lmax (Lc + Ls + Pm)
กำหนด Lc = 0.50
กำหนด Ls = 1db
กำหนด Pm = 6db
แทนค่า Lf = 65- (0.50 +1 +6
= 57.50
8.Dmax = Lf/Lfimax
Lf = 57.50
Lfimax = 2
แทนค่า 57.50/2
= 28.75km


ข้อ2.
50 mbit ระยะทาง 100 km

1.Preformanc = ไม่ระบุ
2.BL = 50*100 = 5,000
3.เลือก optical source เลือก LED power ที่ -20
เพราะ ราคาประหยัด
4.เลือก optical fiber เลือก Graded Index Multimode
เพราะ ลองรับ BL แบร์นวิด ที่ 1.5 GHz/km
5.เลือก optical detector เลือก PIN - FET มีค่า sensitivity -50
เพราะ ราคาประหยัด
6.Lmax = Po – Por
แทนค่า (-20) - (-50)
= 70
7.Lf = Lmax (Lc + Ls + Pm)
กำหนด Lc = 0.50

กำหนด Ls = 1db

กำหนด Pm = 5db

แทนค่า Lf = 70- (0.50 +1 +5)

= 31.75
8.Dmax = Lf/Lfimax
Lf = 63.50
Lfimax = 2
แทนค่า 63.50/2
= 31.57km

วันอังคารที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2551

เส้นใยแก้วนำแสง

เส้นใยแก้วนำแสง

เส้นใยแก้วนำแสง (fiber optic) คืออะไร
เส้นใยแก้วนำแสงหรือไฟเบอร์ออปติก เป็นตัวกลางของสัญญาณแสงชนิดหนึ่ง ที่ทำมาจากแก้วซึ่งมีความบริสุทธิ์สูงมาก
เส้นใยแก้วนำแสงมีลักษณะเป็นเส้นยาวขนาดเล็ก มีขนาดประมาณเส้นผมของมนุษย์เรา เส้นใยแก้วนำแสงที่ดี
ต้องสามารถนำสัญญาณแสงจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งได้ โดยมีการสูญเสียของสัญญาณแสงน้อยมากเส้นใยแก้วนำแสง
สามารถแบ่งตามความสามารถในการนำแสงออกได้เป็น 2 ชนิด
คือ เส้นใยแก้วนำแสงชนิดโหมดเดี่ยว (Singlemode Optical Fibers, SM) และชนิดหลายโหมด (Multimode Optical Fibers, MM) ในปัจจุบันได้มีการพัฒนาเส้นใยแก้วนำแสง ที่ทำมาจากพลาสติกเพื่องานบางอย่างที่ไม่คำนึงถึงการสูญเสียสัญญาณมากนัก เช่น การสื่อสารในระยะทางสั้น ๆ ไม่กี่เมตร

เส้นใยแก้วนำแสงประกอบด้วยส่วนสำคัญ 2 ส่วน
คือ ส่วนที่เป็นตัวกลางนำแสงซึ่งทำจากวัสดุ เช่น แก้ว พลาสติก เรียกว่าแกน (core) กับส่วนที่เป็นที่ห่อหุ้มแกน (cladding)
โดยดัชนีหักเหของที่ห่อหุ้มแกนจะมีค่าน้อยกว่าดัชนีหักเหของแกนทั้งนี้ก็เพื่อกั้นไม่ให้แสงภายในเส้นใยแก้วนำแสงทะลุออกมาภายนอก
เส้นใยแก้วนำแสงบางรุ่นจะมีเพียงแกนกับที่ห่อหุ้มแกนเท่านั้น จึงทำให้เส้นใยแก้วนำแสงดังกล่าวมีขนาดเล็กมากแต่ในเส้นใยแก้วนำแสงที่ใช้งานทั่วไปนั้นถัดจากส่วนที่ห่อหุ้มแกนออกมา จะเป็นส่วนที่ห่อหุ้มสำหรับทำหน้าที่ป้องกันการฉีกขาดของเส้นใยแก้วนำแสง และเป็นส่วนที่รองรับแรงดึงแรงบิดที่กระทำต่อเส้นใยแก้วนำแสง รวมทั้งป้องกันไม่ให้แสงหรือรังสีอินฟราเรดจากภายนอกเข้ามารบกวนสัญญาณภายในเส้นใยแก้วนำแสง ส่วนห่อหุ้มนี้มักจะทำจากวัสดุเหนียวสีดำ
สำหรับเส้นใยแก้วนำแสงบางรุ่นที่มีขนาดใหญ่มาก จะมีการใส่สายเคเบิ้ลโลหะด้วยเพื่อเพิ่มความแข็งแรงทนทานในอาคารบ้านเรือน ที่อยู่อาศัย สำนักงานอาคารอุตสาหกรรมต่างๆ ล้วนแล้วแต่ต้องใช้สายสัญญาณเพื่อเชื่อมโยงระบบสื่อสาร แต่เดิมสายสัญญาณที่นำมาใช้ ได้แก่ สายตัวนำทองแดง ปัจจุบันสายสัญญาณระบบสื่อสารมีความจำเป็นมากขึ้น โดยเฉพาะ ระบบการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และมีแนวโน้มที่จะรวมระบบสื่อสาร อย่างอื่นประกอบเข้ามาในระบบด้วย เช่น ระบบเคเบิลทีวี ระบบโทรศัพท์ ระบบการบริการข้อมูลข่าวสารเฉพาะของบริษัทผู้ให้บริการต่างๆ ความจำเป็นลักษณะนี้ จึงมีผู้ตั้งคำถามว่า ถึงเวลา แล้วหรือยังที่จะให้อาคารที่สร้างใหม่ มีระบบเครือข่ายสายสัญญาณด้วยเส้นใยแก้วนำแสง หากพิจารณาให้ดีพบว่า เวลานั้นได้มาถึงแล้ว ปัจจุบันราคาของเส้นใยแก้วนำแสงที่เดินในอาคารมีราคาใกล้เคียงกับสาย UTP แบบเกรดที่ดี เช่น CAT 5 ขณะเดียวกันสายเส้นใยแก้วนำแสง ให้ประสิทธิภาพที่สูงกว่ามาก และรองรับการใช้งานในอนาคตได้มากกว่า สายยูทีพี (UTP) แบบ CAT 5 รองรับความเร็วสัญญาณ ได้ 100 เมกะบิตต่อวินาที และมีข้อจำกัดในเรื่องความยาวเพียง 100 เมตร ขณะที่สายใยแก้วนำแสงรองรับความถี่สัญญาณได้หลายร้อยเมกะเฮิรตซ์ และยังใช้ได้กับ ความยาวถึง 2,000 เมตร การพัฒนาในเรื่องต่างๆของเส้นใยแก้วนำแสงได้ก้าวมาถึงจุดที่จะนำมาใช้กันอย่างกว้างขวางแล้ว บทความนี้จึงขอนำเสนอเพื่อแสดงให้เห็นว่า เส้นใยแก้วนำแสงมีจุดเด่นอย่างไร มีแนวโน้มการใช้งานด้านใดบ้าง และที่สำคัญคือ จะได้เป็นข้อมูลสำหรับการศึกษา และทำความเข้าใจกับเส้นใยแก้วนำแสง เพื่อว่าจะได้เห็นข้อดีข้อเสียรวมถึงแนวทางการนำมา ประยุกต์ให้คุ้มค่า โดยเฉพาะการมองแนวทางของเทคโนโลยีในระยะไกล

จุดเด่นของสายใยแก้วนำแสง
จุดเด่นของเส้นใยแก้วนำแสงมีหลายประการ โดยเฉพาะจุดที่ได้เปรียบสายตัวนำทองแดง
ที่จะนำมาใช้แทนตัวนำทองแดง จุดเด่นเหล่านี้ มีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง และดีขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งประกอบด้วย
ความสามารถในการรับส่งข้อมูลข่าวสาร เส้นใยแก้วนำแสงที่เป็นแท่งแก้ว ขนาดเล็ก มีการโค้งงอได้ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางที่ใช้กันมากคือ 62.5/125ไมโครเมตร เส้นใยแก้วนำแสงขนาดนี้ เป็นสายที่นำมาใช้ภายในอาคารทั่วไปเมื่อใช้กับคลื่นแสงความยาวคลื่น 850 นาโนเมตร จะส่งสัญญาณได้มากกว่า160 เมกะเฮิรตซ์ ที่ความยาว 1 กิโลเมตร และถ้าใช้ความยาวคลื่น 1,300 นาโนเมตร จะส่งสัญญาณได้กว่า 500 เมกะเฮิรตซ์ ที่ความยาว 1 กิโลเมตร และถ้าลดความยาวลงเหลือ 100 เมตร จะใช้กับความถี่ของสัญญาณมากกว่า 1 กิกะเฮิรตซ์ได้ ดังนั้นจึงดีกว่าสายยูทีพีแบบแคต 5 ที่ใช้กับสัญญาณได้ 100 เมกะเฮิรตซ์

กำลังสูญเสียต่ำ
เส้นใยแก้วนำแสงมีคุณสมบัติในเชิงการให้แสงวิ่งผ่านได้ การบั่นทอนแสงมีค่าค่อนข้างต่ำ ตามมาตรฐานของเส้นใยแก้วนำแสง
การใช้เส้นสัญญาณนำแสงนี้ใช้ได้ยาวถึง 2,000 เมตร หากระยะทางเกินกว่า 2,000 เมตร ต้องใช้ รีพีตเตอร์ทุกๆ 2,000 เมตร การสูญเสียในเรื่องสัญญาณจึงต่ำกว่าสายตัวนำทองแดงมาก ที่สายตัวนำทองแดงมีข้อกำหนดระยะทางเพียง 100 เมตร หากพิจารณาในแง่ความถี่ที่ใช้ ผลตอบสนองทางความถี่มีผลต่อกำลังสูญเสีย โดยเฉพาะในลวดตัวนำทองแดง เมื่อใช้เป็นสายสัญญาณ คุณสมบัติ ของสายตัวนำทองแดงจะเปลี่ยนแปลง เมื่อใช้ความถี่ต่างกัน โดยเฉพาะเมื่อใช้ความถี่ของสัญญาณที่ส่งในตัวนำทองแดง สูงขึ้น อัตราการสูญเสียก็จะมากตามแต่กรณีของเส้นใยแก้วนำแสง เราใช้สัญญาณความถี่มอดูเลตไปกับแสง การเปลี่ยน สัญญาณรับส่งข้อมูลจึงไม่มีผลกับกำลังสูญเสียทางแสง

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไม่สามารถรบกวนได้
ปัญหาที่สำคัญของสายสัญญาณ แบบทองแดง คือ การเหนี่ยวนำโดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ปัญหานี้มีมาก ตั้งแต่เรื่องการรบกวนระหว่างตัวนำหรือเรียกว่า Crosstalk การไม่แมตซ์พอดีทางอิมพีแดนซ์ ทำให้มีคลื่นสะท้อนกลับ การรบกวนจากปัจจัย ภายนอกที่เรียกว่า EMI ปัญหาเหล่านี้สร้างให้ผู้ใช้ต้องหมั่นดูแล แต่สำหรับเส้นใยแก้วนำแสง แล้ว ปัญหาเรื่องเหล่านี้จะไม่มี เพราะแสงเป็นพลังงานที่มีพลังงานเฉพาะ และไม่ถูกรบกวนโดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า การเดินทาง
ในเส้นแก้วก็ปราศจากการรบกวนของแสงจากภายนอก

น้ำหนักเบา
เส้นใยแก้วนำแสงมีน้ำหนักเบากว่าเส้นลวดตัวนำทองแดง น้ำหนัก ของเส้นใยแก้วนำแสงขนาด 2 แกนที่ใช้ทั่วไป
มีน้ำหนักเพียงประมาณ 20 ถึง 50 เปอร์เซนต์ของสาย UTP แบบ CAT 5

ขนาดเล็ก
เส้นใยแก้วนำแสงมีขนาดทางภาคตัดขวางแล้ว เล็กกว่าลวดทองแดง มาก ขนาดของเส้นใยแก้วนำแสง เมื่อรวมวัสดุหุ้มแล้วมีขนาดเล็กกว่าสายยูทีพี
โดยขนาดของสายใยแก้วนี้ใช้พื้นที่ประมาณ 15 เปอร์เซนต์ ของเส้นลวดยูทีพีแบบ CAT 5 มีความปลอดภัยในเรื่องข้อมูลสูงกว่า การใช้เส้นใยแก้วนำแสงมีลักษณะใช้ แสงเดินทางในข่าย จึงยากที่จะทำการแท๊ปหรือทำการดักฟังข้อมูล มีความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินการที่เส้นใยแก้วเป็นฉนวนทั้งหมด จึงไม่นำกระแสไฟฟ้า การลัดลงจร การเกิดอันตรายจากกระแสไฟฟ้าจึงไม่เกิดขึ้น

เส้นใยแก้วนำแสงมีราคาแพง
แนวโน้มทางด้านราคามีการเปลี่ยนแปลงราคาของเส้นใยแก้วนำแสงลดลง จนในขณะนี้ยังแพงกว่าสายยูททีพีอยู่บ้าง แต่ก็ไม่มากนักนอกจากนี้หลายคนยังเข้าใจว่า การติดตั้งเส้นใยแก้วนำแสงมีข้อยุ่งยาก และต้องใช้คนที่มีความรู้ความชำนาญ เสียค่าติตั้งแพง ความคิดนี้ก็คงไม่จริง เพราะการติดตั้งทำได้ไม่ยากนักเนื่องจากมีเครื่องมือพิเศษช่วยได้มาก เครื่องมือพิเศษนี้สามารถเข้าหัวสายได้โดยง่ายกว่าแต่เดิมมาก อีกทั้งราคาเครื่องมือก็ถูกลงจนมีผู้รับติดตั้งได้ทั่วไป

เส้นใยแก้วนำแสงยังไม่สามารถใช้กับเครื่องที่ตั้งโต๊ะได้
ปัจจุบันพีซีที่ใช้ส่วนใหญ่ต่อกับแลนแบบอีเธอร์เน็ต ซึ่งได้ความเร็ว 10 เมกะบิต การเชื่อมต่อกับแลนมีหลายมาตรฐาน โดยเฉพาะปัจจุบันหากใช้ความเร็วเกินกว่า 100 เมกะบิต สายยูทีพีรองรับไม่ได้ เช่น เอทีเอ็ม 155 เมกะบิต แนวโน้มของการใช้งานระบบเครือข่ายมีทางที่ต้องใช้แถบกว้างสูงขึ้นมาก โดยเฉพาะเมื่อต้องการให้พีซีเป็นมัลติมีเดียเพื่อแสดงผลเป็นภาพวิดีโอ การใช้เส้นใยแก้วนำแสงดูจะเป็นทางออก พัฒนการของการ์ดก็ได้พัฒนาไปมากเอทีเอ็มการ์ดใช้ความเร็ว 155 เมกะบิต ย่อมต้องใช้เส้นใยแก้วนำแสงรองรับ การใช้เส้นใยแก้นำแสงยังสามารถใช้ในการส่งรับวิดีโอคอนเฟอเรนซ์ หรือสัญญาณประกอบอื่น ๆ ได้ดี

สรุปคำสั่ง OSPF

สรุปคำสั่ง OSPF

OSPF เป็นเร้าติ้งโปรโตคอลที่ได้รับการพัฒนาขึ้นมาใช้บนเน็ตเวิร์ก IP โดยคณะทำงาน Interior Gateway Protocol (IGP) ย่อยแห่งคณะกรรมการ Internet Engineering Task Force (IETF) คณะทำงานนี้ได้ถูกก่อตั้งมาตั้งแต่ปี 1998 เพื่อทำหน้าที่ออกแบบเร้าติ้งโปรโตคอลที่ใช้บนเน็ตเวิร์กภายในองค์กร โดยมีพื้นฐานมาจากอัลกอริทึมในทางคอมพิวเตอร์แบบ Shortest Path First (SPF) อัลกอริทึมนี้มีอีกชื่อเรียกหนึ่งว่า Dijkstra’S Algorithm ซึ่งเป็นชื่อที่ตั้งตามชื่อของนักคณิตศาสตร์ที่เป็นผู้ออกแบบและคิดค้นอับกอริทึมนี้

OSPFได้รับการออกแบบมาเพื่อเอาชนะข้อจำกัดต่าง ๆที่เคยมีในเร้าติ้งโปรโตคอลแบบ Distance Vector OSPF นั้นสามารถตอบสนองได้รวดเร็วต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในเน็ตเวิร์ก และมีการส่ง “triggered updates” ไปในทันทีโดยอัตโนมัติ และส่ง “Periodix update” ไปทุก ๆ ช่วงเวลาเช่น ทุก ๆ 30 นาที นอกจากนั้นยังมีกลไกล ที่ดีในการตรวจสอบสถานการณ์สื่อสาร ระหว่างเร้าเตอร์ปัจจุบันกับเร้าเตอร์ข้างเคียงต่าง ๆ ด้วย “ Hello Mechanism”

โดยสรุปแล้ว OSPF มีคุณลักษณะที่สำคัญได้แก่
- เป็นเร้าติ้งโปรโตคอลมาตรฐานและเป็นมาตรฐานสากล ข้อกำหนดและพฤติกรรมต่าง ๆ ได้รับการอธิบายไว้อย่างชัดเจนใน RFC (Request for Comments) IETF ได้พัฒนา OSPF ขึ้นมาในปี 1988 ส่วนเวอร์ชันล่าสุดซึ่งรู้จักกันในนาม OSPF เวอร์ชัน 2 ได้รับการอธิบายไว้ใน RFC 2328

- เป็นเร้าติ้งโปรโตคอลที่อาศัยการอัปเดตสถานะของเน็ตเวิร์กอินเตอร์เฟซไปให้กับเร้าเตอร์เพื่อบ้านแล้วให้เร้าเตอร์เพื่อนบ้านสร้างภาพรวมของเน็ตเวิร์กทั้งหมด และคำนวณหาเส้นทางเอง แต่จะไม่ ส่งเร้าติ้งเทเบิลทั้งตารางไปให้เร้าเตอร์เพื่อนบ้านเหมือนกันในกรณีของ Distance Vector
- มีการเลือกเส้นทางที่สั้นที่สุดโดยพิจารณาจากแบนด์วิดธ์ (Bandwidth)
-รองรับการตั้งแอดเดรสแบบมีจำนวนบิตของ Subnet Mask ไม่เท่ากัน (Variable Length Subnet Mask: VLSM) และมีการส่ง Subnet Mask ไปให้เร้าเตอร์เพื่อนบ้านด้วย

-รองรับการสร้างสิ่งที่เรียกว่า “OSPF Area” ซึ่งสามารถทำให้เน็ตเวิร์กที่ใช้งาน OSPF สามารถจัดแบ่งเน็ตเวิร์กออกเป็นโซนหรือพื้นที่ย่อย ๆ ได้ (เรียกว่าการแบ่ง Area) ทั้งนี้เพื่อจำกัดสโคป หรือขอบเขตของการเปลี่ยนแปลงเน็ตเวิร์กโทโพโลยี
-รอบรับการทำ “Route summarization”
-รองรับการทำการกระจายแพ็กเก็ตไปบนเส้นทางที่มีแบนด์วิดธ์เท่ากัน
-สามารถทำ “Route authentication” ระหว่างเร้าเตอร์เพื่อตรวจสอบตัวตนซึ่งกันและกันก่อน

ที่จะมีการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน
-ไวมากต่อพฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงเน็ตเวิร์กโทโพโลยี (Fast convergence)

Wireshark เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการดักจับ Packet ที่มีการรับส่งกันบนเครือข่าย ในการดักจับ Packet นั้น โปรแกรม Wireshark นั้นจะต้องทำงานที่เครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายนั้น
Network Diagram ที่ใช้ Wireshark ในการดักจับ packet แสดงภาพของ Network Diagram ที่ใช้ในการดักจับ Packet ของการทำงานของ Open Shortest Path First (OSPF) Protocol ซึ่งจะเป็นการติดต่อเปลี่ยนแปลง Update Routing Protocol ระหว่าง Core Switch และ Router ใน Area เดียวกับการค้นหาเร้าเตอร์ ข้างเคียงที่รัน OSPF จะเกิดขึ้นด้วยการส่งแพ็กเก็ตพิเศษที่เรียกว่า HELLO PACKET ออกไปไปโดยใช้มัลติคาสก์แอดเดรส 224.0.0.5 หลังจากนั้นแอดเดรสของเร้าเตอร์ ข้างเคียงที่ค้นพบได้จะถูกเก็บไว้ในตาราง OSPF Neighbor Table
ผลลัพธ์ที่ได้จะแสดงหมายเลข IP Address ของเร้าเตอร์ และ Switch ข้างเคียง แต่ละตัวที่ค้นพบได้ทางซีเรียสอินเตอร์เฟซต่างๆ กัน เมื่อความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนบ้านถูกสร้างขึ้นได้สำเร็จ สถานะ (State) ที่เห็นจะอยู่ในสถานะ FULL


หลังจากฟอร์มความสัมพันธ์ระหว่างกันได้แล้ว เร้าเตอร์จะมีการส่ง Hello packet ออกไปให้เร้าเตอร์เพื่อนบ้านทุก ๆ ระยะๆ ตามช่วงเวลาที่เรียกว่า Hello Interval เพื่อยืนยันว่าตนเองยังมีชีวิตอยู่ หากเร้าเตอร์ไม่ได้ รับ HELLO PACKET มาจาเร้าเตอร์เพื่อนบ้านหลังจากช่วงเวลาที่เรียกว่า Dead Interval ผ่านไปมันตะถือว่าเร้าเตอร์เพื่อนบ้านนั้น ๆ ได้ดาวน์ลงไป
รูปแบบของ Hello Packetในการสร้างความสัมพันธ์ของ Protocol OSPF จาก Core Switch ที่มี Source IP Address เป็น 172.18.19.252 ซึ่งมี Destination IP Address เป็น 244.0.0.5 (Multicast Address)
BGP (Border Gateway Protocol) เป็นโปรโตคอลเลือกเส้นทางประเภท Exterior Gateway Routing ที่ใช้เพื่อการเชื่อมต่อเราเตอร์ (Router) และเครือข่ายที่อยู่ต่างโดเมน (Domain) กันบนอินเทอร์เน็ต
BGP ใช้ Protocol TCP Port หมายเลข 179 เพื่อใช้ในการขนถ่ายข้อมูลข่าวสาร โดยมีการใช้ TCP เพื่อการสถาปนาการเชื่อมต่อก่อนจะแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างเราเตอร์ BGP ทั้งสอง (Peer Router) จากนั้นก็จะทำการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร รวมทั้งการเปิดสัมพันธไมตรีก่อนที่จะแลกเปลี่ยนข่าวสารระหว่างกันต่อไป
ข้อมูลข่าวสารที่เราเตอร์ทั้งสองใช้เพื่อการแลกเปลี่ยนกัน รวมไปถึงข่าวสารที่แสดงถึงความสามารถในการเข้าถึงกันได้ โดยข่าวสารนี้เป็นในรูปแบบของเลขหมาย AS ของแต่ละฝ่าย ซึ่งต่างฝ่ายถือเป็นเส้นทางในการเข้าหากัน ข้อมูลนี้จะช่วยให้เราเตอร์สามารถสร้างผังของเส้นทางที่ปราศจากลูป (Loop) ในการเข้าหากัน อีกทั้งเราเตอร์ยังใช้เพื่อเป็นการกำหนดเส้นทางเชิงนโยบายที่มีเนื้อหาที่กำหนดข้อจำกัดต่าง ๆ


จุดประสงค์ของการใช้ BGP
1.BGP ให้ประโยชน์อย่างเห็นได้ชัด โดยเฉพาะการเชื่อมต่อเครือข่ายต่าง ๆ รวมทั้งลูกค้า และผู้ให้บริการโทรศัพท์ รวมทั้งเครือข่ายอื่น ๆ
2.BGP เหมาะอย่างยิ่งสำหรับการเชื่อมต่อเครือข่ายในรูปแบบของ Autonomous ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน
3.BGP เหมาะอย่างยิ่งสำหรับการเชื่อมต่อเครือข่ายในระดับ Enterprise หากองค์กรของท่านมีการเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตแบบหลายเชื่อมต่อเพื่อผลแห่ง Redundancy BGP ก็สามารถทำ Load Balancing Traffic ได้บนเส้นทางที่เป็น Redundant Link
4.จัดเลือกเส้นทางผ่านทางเครือข่ายไปยัง Autonomous System อื่น ๆ ที่เชื่อมต่อกัน
5.มีการเชื่อมต่อระหว่าง Autonomous System มากกว่า 1 เส้น
6.ควบคุมการลำเลียงข้อมูลข่าวสารที่วิ่งไปมาระหว่างระบบ Autonomous System
7.ท่านยังสามารถใช้ Policy ที่กำหนดให้ท่านสามารถเลือกเส้นทางที่ดีที่สุดเพื่อเดินทางไปสู่ปลายทาง

RIP (Routing Information Protocol) เป็นโปรโตคอลที่ใช้อย่างกว้างขวาง สำหรับการจัดการสารสนเทศของ router ภายในเครือข่าย เช่น เครือข่าย LAN ของบริษัท หรือการติดต่อภายในกลุ่ม ของเครือข่าย RIP ได้รับการจัดชั้นโดย Internet Engineering Task Force (IETF) ให้เป็นหนึ่งในโปรโตคอลของ Internet Gateway Protocol (หรือ Interior Gateway Protocol)การใช้ RIP, gateway host (ที่มี router) จะส่งตาราง routing (ซึ่งมีรายการของ host ทั้งหมดที่ทราบ) ไปยัง host ใกล้เคียงทุก 30 วินาที host ใกล้เคียง จะส่งต่อสารสนเทศไปยัง host ต่อไป จนกระทั่งภายในเครือข่าย จะมีข้อมูลเส้นทางเหมือนกัน สถานะนี้เรียกว่า network convergence การหาระยะของเครือข่าย RIP ใช้การนับแบบ hop เป็นวิธีการในการค้นหา (โปรโตคอลอื่นใช้อัลกอริทึมที่ทันสมัยกว่า เช่น เวลา) แต่ละ host ที่มี router ในเครือข่ายใช้ตารางสารสนเทศ routing ในการค้นหา host ต่อไป เพื่อหาเส้นทางให้กับแพ็คเกต สำหรับปลายทางที่กำหนดRIP ได้รับการพิจารณาว่าคำตอบที่มีประสิทธิผล สำหรับเครือข่าย homogeneous ขนาดเล็ก สำหรับเครือข่ายที่ซับซ้อน การส่งผ่านตาราง routing ทุก 30 วินาทีของ RIP อาจจะทำให้จำนวนรวม ของการใช้เครือข่ายหนาแน่นขึ้น

วันอังคารที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2551

ขัอสอบเรื่องเส้นใยแก้วนำแสง

ข้อสอบเรื่องเส้นใยแก้วนำแสง
1. การใช้เส้นสัญญาณนำแสงนี้ใช้ได้ยาวถึงกี่เมตร
ก.1000 เมตร
ข.2000 เมตร
ค.3000 เมตรง
.4000 เมตร
2.สายยูทีพีแบบแคต 5 รองรับความเร็วสัญญาณได้ กี่เมกะบิตต่อวินาที
ก.100 เมกะบิตต่อวินาที
ข.200 เมกะบิตต่อวินาที
ค.300 เมกะบิตต่อวินาที
ง.400 เมกะบิตต่อวินาที
3. เส้นใยแก้วนำแสงมีลักษณะเป็นอย่างไร
ก.เส้นสั้นขนาดเล็กข
.เส้นตรงธรรมดา
ค.เส้นแบน
ง.เส้นยาวขนาดเล็ก
4.อุปกรณ์ส่งแสงหรือ LED ใช้พลังงานกี่ไมโครวัตต์ สำหรับใช้กับเส้นใยแก้วนำแสงแบบ 62.5/125
ก. 40 ไมโครวัตต์
ข. 45 ไมโครวัตต์

ค. 46 ไมโครวัตต์ง
. 48 ไมโครวัตต์
5.ใยแก้วนำแสงประกอบไปด้วยส่วนหลักๆ ทั้งหมดกี่ส่วน
ก. 1 ส่วนข
ข. 2 ส่วน
ค. 3 ส่วน
ง. 4 ส่วน
6.เส้นใยแก้วนำแสงสามารถแบ่งตามความสามารถในการนำแสงออกได้เป็นกี่ชนิด
ก. 4 ชนิด
ข. 3 ชนิด
ค. 2 ชนิดง
. 1 ชนิด
7.เส้นใยแก้วนำแสงมีกี่แบบ
ก. 1 แบบ
ข. 2 แบบ
ค. 3 แบบ
ง. 4 แบบ
8.ในการส่งสัญญาณแสงหรือเป็นแหล่งกำเนิดแสงอุปกรณ์ใดที่ทำหน้าที่เปลี่ยนคลื่นไฟฟ้าให้เป็นคลื่นแสง
ก. LCD
ข. LED
ค. LTD
ง. LTO
9.การผสมสัญญาณ ( Modulation ) ของสื่อสารนั้น หมายถึง
ก. การทำให้ความถี่ของการสั่นในการส่งเปลี่ยนแปลงไปตามสัญญาณข่าวสาร
ข. การทำให้ความถี่น้อยลง
ค. การทำให้สัญญาณผสมกัน
ง. การทำให้สัญญาณเพิ่มขึ้น
10. จุดเด่นของเส้นใยแก้วนำแสงคืออะไร ?..
ก. สวยงาม
ข.จุดที่ได้เปรียบสายตัวนำทองแดง ที่จะนำมาใช้แทนตัวนำทองแดง
ค. หาซื้อง่าย
ง. มีลักษณะทึบแสง

วันอังคารที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2551

สอบเก็บคะแนน ครั้งที่ 2

1. Router มีกี่โหมด อะไรบ้าง อธิบายให้ละเอียด
ตอบ มีอยู่ 2 แบบ หลักๆ ได้แก่
- แบบสเตติก (Static Router)
- แบบไดนามิก (Dynamic Route)
Static Route การเลือกเส้นทางแบบ Static นี้ การก่าหนดเส้นทางการค่านวณเส้นทางทั้งหมด กระท่าโดยผู้บริหาจัดการเครือข่าย ค่าที่ถูกป้อนเข้าไปในตารางเลือกเส้นทางนี้มีค่าที่ตายตัว ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นใดๆ บนเครือข่าย จะต้องให้ผู้บริหารจัดการดูแล เครือข่า เข้ามาจัดการทั้งสิ้น อย่างไรก็ดีการใช้ วิธีการทาง Static เช่นนี้ มีประโยชน์เหมาะส่าหรับสภาพแวดล้อมดังนี้
- เหมาะส่าหรับเครือข่ายที่มีขนาดเล็ก
- เพื่อผลแห่งการรักษาความปลอดภัยข้อมูล เนื่องจากสามารถแน่ใจว่า ข้อมูลข่าวสารจะต้องวิ่งไปบนเส้นทางที่ก่าหนดไว้ให้ ตายตัว
- ไม่ต้องใช้ Software เลือกเส้นทางใดๆทั้งสิ้น- ช่วยประหยัดการใช้ แบนวิดท์ของเครือข่ายลงได้มาก เนื่องจากไม่มีปัญหาการ Broadcast หรือแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่าง Router ที่มาจากการใช้โปรโตคอลเลือกเส้นทาง
Dynamic Route การเลือกเส้นทางแบบ Dynamic นี้ เป็นการใช้ ซอฟต์แวร์ที่ติดตั้งมากับ Router เพื่อท่าหน้าที่แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับการเลือกเส้นทางระหว่าง Router โดยที่เราเรียกว่า โปรโตคอลเลือกเส้นทาง (Routing Protocol) ข้อดีของการใช้ Routing Protocol ได้แก่ การที่ Router สามารถใช้ Routing Protocol นี้เพื่อการสร้างตารางเลือกเส้นทางจากสภาวะของเครือข่ายในขณะนั้น ประโยชน์ของการใช้ Routing Protocol มีดังนี้
- เหมาะส่าหรับเครือข่ายขนาดใหญ่ - Router สามารถจัดการหาเส้นทางเองหากมีการเปลี่ยนแปลงของเครือข่ายเกิดขึ้น
- Router สามารถเลือกเส้นทางเดินของเครือข่ายที่ดีที่สุดไปยังปลายทาง
- เมื่อใดที่เส้นทางบนเครือข่าย เกิดสะดุด ติดขัด หรือถูกตัดขาด Router สามารถหาเส้นทางอื่นมาทดแทนกันได้
รูปแบบการเชื่อมต่อ ของ Router ภายใต้การใช้งาน Routing Protocol นี้ มักจะเป็นไปในรูปแบบของ
- กึ่ง Mesh (Partial Mesh

2.จงบอกคำสั่งในแต่ละโหมดมาอย่างน้อย 5 คำสั่ง
ตอบ คำสั่ง access-enable เป็นการสร้าง Access List entry ชั่วคราวclear เป็นการ reset ค่า configure ต่างๆที่ท่านสร้างขึ้นชั่วคราวconnect ใช้เพื่อ เปิด connection กับ terminaldisable ปิดหรือยกเลิกคำสั่งที่อยู่ใน Privileged modedisconnect ยกเลิกการเชื่อมต่อใดๆกับ networkenable เข้าสู่ privileged Exec mode


คำสั่ง Enable ใช้เพื่อเปิดการเข้าสู่ privileged modeErase ใช้เพื่อการลบข้อมูลใน Flash หรือหน่วยความจำที่เก็บ Configuration ใน RouterExit ใช้เพื่อออกจาก EXEC modeHelp


คาสั่ง Aliasใช้เพื่อสร้าง Command Alias (ใช้เพื่อสร้างคำสั่งใหม่จากคำสั่งเดิมที่มีอยู่)apollo คำสั่ง Apollo Global configuration Commandappletalk คำสั่ง Global Configuration สำหรับ เครื่อง Appletalk arap Appletalk Remote Access Protocolarp เป็นการตั้งค่า arp ในตาราง arpasync-bootp ใช้เพื่อ modify Parameter การทำงานของ Bootup


คำสั่ง User Exec ModeUser Exec Mode เป็นโหมดแรกที่ท่านจะต้อง Enter เข้าไป เมื่อRouter เริ่มทำงาน วิธีที่จะรู้ว่าท่านได้เข้าสู่ User Exec Mode จาก Prompt ของ Router ได้แก่ Prompt ที่แสดงบนหน้าจอ ได้แก่ ชื่อของ Router แล้วตามด้วยเครื่องหมาย > เช่น Routerhostname >


คำสั่ง helpLogin ใช้เพื่อการ log on เข้าสู่ระบบLogout ใช้เพื่อการออกจาก EXECMrinfo ใช้เพื่อการร้องขอข้อมูลข่าวสารจาก Multicast RouterMstat แสดงสถิติหลังจากที่ได้ติดตามดูเส้นทางของ Router ต่างๆMtrace ใช้เพื่อติดตามดู เส้นทางแบบย้อนกลับ จากปลายทางมายังต้นทางName-connection ใช้เพื่อการตั้งชื่อ ให้กับเครือข่ายที่กำลังเชื่อมต่ออยู่Global Configuration Mode

3. Command prompt ในโหมดต่างๆ
ตอบ Command Mode Command Mode หลักภายใน Cisco IOS ได้แก่User Exec ModePrivileged Exec ModeGlobal Configuration ModeInterface ConfigurationBootMode

command prompt
ใช้คำสั่ง cd เพื่อเปลี่ยนไปยัง ไดเร็กทอรีที่ต้องการแล้วใช้คำสั่ง
DIR /B /O:N > filelist.txt
ถ้าใส่ /A ด้วยจะเป็นการแสดงหมดทุกไฟล์รวมถึงไฟล์ที่ซ่อนอยู่ด้วย
ตรง /O: มีตัวเลือกดังนี้
N เรียงตามชื่อ
E เรียงตามสกุล
S เรียงตามขนาด
D เรียงตามวันที่ที่สร้าง
G ให้ชื่อโฟลเดอร์ขึ้นก่อน
- ถ้าใส่ - ข้างหน้าเป็นการเรียงในแนวกลับกัน เช่น /O:N เรียงตามชื่อ A-Z ถ้าเป็น /O:-N จะเป็นการเรียงตามชื่อ Z-A แทนครับ
เครื่องหมาย : (ทวิภาค) จะใส่หรือไม่ใส่ก็ได้ครับ

4. Use exec mode พร้อมรายละเอียด
ตอบ Command Mode หลักภายใน Cisco IOS ได้แก่User Exec ModePrivileged Exec ModeGlobal Configuration ModeInterface ConfigurationBoot ModeUser Exec ModeUser Exec Mode เป็นโหมดแรกที่ท่านจะต้อง Enter เข้าไป เมื่อRouter เริ่มทำงาน วิธีที่จะรู้ว่าท่านได้เข้าสู่ User Exec Mode จาก Prompt ของ Router ได้แก่ Prompt ที่แสดงบนหน้าจอ ได้แก่ ชื่อของ Router แล้วตามด้วยเครื่องหมาย > เช่นRouterhostname >ต่อไปนี้ เป็นตารางแสดงรายการคำสั่ง ภายใต้ User Exec Commandsตารางที่ 1แสดงรายการคำสั่ง ภายใต้ User Exec Commandsคำสั่งaccess-enableเป็นการสร้าง Access List entry ชั่วคราวclearเป็นการ reset ค่า configure ต่างๆที่ท่านสร้างขึ้นชั่วคราวconnectใช้เพื่อ เปิด connection กับ terminaldisableปิดหรือยกเลิกคำสั่งที่อยู่ใน Privileged modedisconnectยกเลิกการเชื่อมต่อใดๆกับ networkenableเข้าสู่ privileged Exec modeexitออกจากการใช้ User Exec modehelpใช้เพื่อแสดงรายการ helplatเปิดการเชื่อมต่อกับ LAT (เครือข่าย VAX)lockใช้เพื่อ lock terminalloginloginเข้ามาเป็น userlogoutexit ออกจาก EXECmrinfoใช้เพื่อการร้องขอข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ Version และสถานะของ Router เพื่อนบ้านจาก multicast router ตัวหนึ่งmstatแสดงสถิติหลังจากที่ได้ตามรอยเส้นทางแบบ Multicast ของ Router แล้วmtraceใช้ติดตามดู เส้นทาง Multicast แบบย้อนกลับจาก ปลายทางย้อนกลับมาที่ต้นทางname-connectionเป็นการให้ชื่อกับ การเชื่อมต่อของเครือข่ายที่กำลังดำเนินอยู่padเปิดการเชื่อมต่อ X.25 ด้วย X.29 PADPingใช้เพื่อทดสอบการเชื่อมต่อpppใช้เรียกการเชื่อมต่อแบบ PPPresumeใช้เพื่อการ กลับเข้าสู่การเชื่อมต่อของเครือข่ายอีกครั้งrloginเปิดการเชื่อมต่อ remote Login กับ Server ระยะไกลshowแสดงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการทำงานของ Router ในปัจจุบัน

5.คำสั่งที่ใช้ตรวจสอบสถานะของRout จงบอกอย่างน้อย 5 คำสั่ง
ตอบ
1. show Versionเป็นคำสั่งที่ใช้แสดงการจัด Configuration ของระบบ Hardware เช่น Version ของ Software ที่ใช้ใน Router ชื่อของ Configuration File อันเป็นต้นฉบับ รวมทั้ง Boot Images
2. show Processesใช้เพื่อแสดงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ โปรเซสที่กำลังเกิดขึ้น และยังดำเนินการอยู่ทั้งหมดภายใน Router
3. show Protocolsใช้แสดง Protocol ใน Router ที่ได้รับการจัด Configured เรียบร้อยแล้วโดยคำสั่งนี้ จะทำการแสดง Protocol ที่ทำงานในระดับชั้น Layer 3(Network Layer) ของ OSI Model
4. show Memory ใช้เพื่อการแสดงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับหน่วยความจำในตัว Router รวมทั้งปริมาณของหน่วยความจำที่เหลือจากการใช้งาน
5. show ip route ใช้เพื่อการแสดงข้อมูลข่าวสารที่อยู่ใน ตารางเลือกเส้นทาง (Routing Table)
6. show flashแสดงข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับ อุปกรณ์ประเภท Flash Memory
7. show running-configใช้เพื่อการแสดงค่าพารามิเตอร์ของ Configuration ต่างๆที่กำลังทำงานกันอยู่ในขณะนี้
8. show startup-configใช้เพื่อการแสดง File ที่ใช้ backup ค่า Configuration ต่างๆ
9. show interfacesใช้เพื่อการแสดงสถิติของ Interface ทั้งหมดที่ได้จัดตั้ง Configured เรียบร้อยแล้วบน Router

6. การเลือกเส้นทางแบบ Static คืออะไร
ตอบ การเลือกเส้นทางแบบ Static Route การเลือกเส้นทางแบบ Static นี้ การก่าหนดเส้นทางการค่านวณเส้นทางทั้งหมด กระท่าโดยผู้บริหาจัดการเครือข่าย ค่าที่ถูกป้อนเข้าไปในตารางเลือกเส้นทางนี้มีค่าที่ตายตัว ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นใดๆ บนเครือข่าย จะต้องให้ผู้บริหารจัดการดูแล เครือข่า เข้ามาจัดการทั้งสิ้น อย่างไรก็ดีการใช้ วิธีการทาง Static เช่นนี้ มีประโยชน์เหมาะส่าหรับสภาพแวดล้อมดังนี้
- เหมาะส่าหรับเครือข่ายที่มีขนาดเล็ก
- เพื่อผลแห่งการรักษาความปลอดภัยข้อมูล เนื่องจากสามารถแน่ใจว่า ข้อมูลข่าวสารจะต้องวิ่งไปบนเส้นทางที่ก่าหนดไว้ให้ ตายตัว
- ไม่ต้องใช้ Software เลือกเส้นทางใดๆทั้งสิ้น
- ช่วยประหยัดการใช้ แบนวิดท์ของเครือข่ายลงได้มาก เนื่องจากไม่มีปัญหาการ Broadcast หรือแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่าง Router ที่มาจากการใช้โปรโตคอลเลือกเส้นทาง

7. การเลือกเส้นทางแบบ Dynamicคืออะไร
ตอบ การเลือกเส้นทางแบบ Dynamic Route การเลือกเส้นทางแบบ Dynamic นี้ เป็นการใช้ ซอฟต์แวร์ที่ติดตั้งมากับ Router เพื่อท่าหน้าที่แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับการเลือกเส้นทางระหว่าง Router โดยที่เราเรียกว่า โปรโตคอลเลือกเส้นทาง (Routing Protocol) ข้อดีของการใช้ Routing Protocol ได้แก่ การที่ Router สามารถใช้ Routing Protocol นี้เพื่อการสร้างตารางเลือกเส้นทางจากสภาวะของเครือข่ายในขณะนั้น ประโยชน์ของการใช้ Routing Protocol มีดังนี้

- เหมาะส่าหรับเครือข่ายขนาดใหญ่ - Router สามารถจัดการหาเส้นทางเองหากมีการเปลี่ยนแปลงของเครือข่ายเกิดขึ้น

- Router สามารถเลือกเส้นทางเดินของเครือข่ายที่ดีที่สุดไปยังปลายทาง

- เมื่อใดที่เส้นทางบนเครือข่าย เกิดสะดุด ติดขัด หรือถูกตัดขาด Router สามารถหาเส้นทางอื่นมาทดแทนกันได้

รูปแบบการเชื่อมต่อ ของ Router ภายใต้การใช้งาน Routing Protocol นี้ มักจะเป็นไปในรูปแบบของ

- กึ่ง Mesh (Partial Mesh)

8. Protocal ที่เลือกเส้นทางแบบ dynamic มีอะไรบ้าง
ตอบ โปรโตคอลเลือกเส้นทางแบบ Dynamic มีอยู่ หลายรูปแบบ ดังนี้

1. Interior Gateway Routing Protocol

2.Exterior Gateway Routing Protocol

3. Distance Vector Routing Protocol

4. Link State Routing ProtocolInterior เป็น Protocol ที่ใช้แลกเปลี่ยนฐานความรู้ระหว่าง Roter ภายในองค์กรเดียวกัน ซึ่งได้แก่ RIP , IGRP ,EIGRP และ OSPF Exterior เป็น Protocol ที่ใช้แลกเปลี่ยนฐานความรู้ต่างองค์กรกันหรือความน่าเชื่อถือต่างกัน ซึ่งได้แก่ BGP, EGP Distance Vector เป็นโปรโตคอลเลือกเส้นทางที่ Router ใช้เพื่อการสร้างตาราง Routing และจัดการนำแพ็กเก็ตส่งออกไปยังเส้นทางที่กำหนด โดย อาศัยข้อมูลเกี่ยวกับระยะทาง เช่น Hop เป็นตัวกำหนดว่า เส้นทางใดเป็นเส้นทางที่ดีที่สุด ที่จะนำแพ็กเก็ตส่งออกไปที่ปลายทาง โดยถือว่า ระยะทางที่ใกล้ที่สุด เป็นเส้นทางที่ดีที่สุด และแอดเดรส ของเครือข่ายปลายทางเป็น VectorLink State Routing ถูกเรียกว่า "Shortest Path First (SPF)" Algorithm ด้วย Link State Routing นี้ Router แต่ละตัวจะทำการ Broadcast ข้อมูลข่าวสารออกมายัง Router ที่เชื่อมต่อกับมันโดยตรงแบบเป็นระยะๆ ข้อมูลข่าวสารนี้ยังครอบคลุมไปถึงสถานะของการเชื่อมต่อระหว่างกันRouting Protocols (เส้นทางการเชื่อมต่อ)Exterior routing Protocol (EGP) เป็นโปรโตคอล สำหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลของ router ระหว่าง 2 เครือข่ายของ gateway host ในระบบเครือข่ายแบบอัตโนมัติ ซึ่ง EGP มีการใช้โดยทั่วไป ระหว่าง host บนอินเตอร์เน็ต เพื่อแลกเปลี่ยนสารสนเทศของตาราง routing โดยตาราง routing ประกอบด้วยรายการ router ตำแหน่งที่ตั้ง และเมทริกของค่าใช้จ่ายของแต่ละ router เพื่อทำให้สามารถเลือกเส้นทางที่ดีที่สุด กลุ่มของ router แต่ละกลุ่มจะใช้เวลาภายใน 120 วินาที ถึง 480 วินาที ในการส่งข้อมูลส่งตาราง routing ทั้งหมดไปยังเครือข่ายอื่น ซึ่ง EGP -2 เป็นเวอร์ชันล่าสุดของ EGP Border Gateway Protocol (BGP) เป็นโปรโตคอลสำหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลของเส้นทางระหว่าง gateway host (ซึ่งแต่ละที่จะมี router ของตัวเอง) ในเครือข่ายแบบอัตโนมัติ BGP มักจะได้รับการใช้ระหว่าง gateway host บนระบบอินเตอร์เน็ต ตาราง routing ประกอบด้วยรายการของ router ตำแหน่งและตารางค่าใช้จ่าย (cost metric) ของเส้นทางไปยังrouterแต่ละตัวเพื่อการเลือกเส้นทางที่ดีที่สุด host ที่ใช้การติดต่อด้วยประเภทของ Routing ภายใน Network ที่เชื่อมต่อกับเนตเวิคโดยตรงRouting Information Protocol (RIP) เป็นโปรโตคอลที่ใช้อย่างกว้างขวาง สำหรับการจัดการสารสนเทศของ router ภายในเครือข่าย เช่น เครือข่าย LAN ของบริษัท หรือการติดต่อภายในกลุ่ม ของเครือข่าย RIP ได้รับการจัดชั้นโดย Internet Engineering Task Force (IETF) ให้เป็นหนึ่งในโปรโตคอลของInternet Gateway Protocol (หรือ InteriorGatewayProtocol)Open Shortest Path First (OSPF) ถือเป็น เร้าติ้งโปรโตคอล (Routing Protocol) ตัวหนึ่งที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายมากที่สุดในระบบเน็ตเวิร์ก เนื่องจากมีจุดเด่นในหลายด้าน

9. อธิบาย Protocal Distance Vector ให้เข้าใจ
ตอบ ลักษณะที่สำคัญของการติดต่อแบบ Distance-vector คือ ในแต่ละ Router จะมีข้อมูล routing table เอาไว้พิจารณาเส้นทางการส่งข้อมูล โดยพิจารณาจากระยะทางที่ข้อมูลจะไปถึงปลายทางเป็นหลัก จากรูป Router A จะทราบว่าถ้าต้องการส่งข้อมูลข้ามเครือข่ายไปยังเครื่องที่อยู่ใน Network B แล้วนั้น ข้อมูลจะข้าม Router ไป 1 ครั้ง หรือเรียกว่า 1 hop ในขณะที่ส่งข้อมูลไปยังเครื่องใน Network C ข้อมูลจะต้องข้ามเครือข่ายผ่าน Router A ไปยัง Router B เสียก่อน ทำให้การเดินทางของข้อมูลผ่านเป็น 2 hop อย่างไรก็ตามที่ Router B จะมองเห็น Network B และ Network C อยู่ห่างออกไปโดยการส่งข้อมูล 1 hop และ Network A เป็น2 hop ดังนั้น Router A และ Router B จะมองเห็นภาพของเครือข่ายที่เชื่อมต่ออยู่แตกต่างกันเป็นตารางข้อมูล routing table ของตนเอง จากรูปการส่งข้อมูลตามลักษณะของ Distance-vector routing protocol จะเลือกหาเส้นทางที่ดีที่สุดและมีการคำนวณตาม routing algorithm เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ออกมา ซึ่งมักจะเลือกเส้นทางที่ดีที่สุด

10. Protocol BGP คืออะไรมีหลักการทำงานอย่างไร

ตอบ Border Gateway Protocol (BGP) เป็นโปรโตคอลสำหรับการแลกเปลี่ยนข้อมูลของเส้นทางระหว่าง gateway host (ซึ่งแต่ละที่จะมี router ของตัวเอง) ในเครือข่ายแบบอัตโนมัติ BGP มักจะได้รับการใช้ระหว่าง gateway host บนระบบอินเตอร์เน็ต ตาราง routing ประกอบด้วยรายการของ router ตำแหน่งและตารางค่าใช้จ่าย (cost metric) ของเส้นทางไปยัง router แต่ละตัว เพื่อการเลือกเส้นทางที่ดีที่สุด host ที่ใช้การติดต่อด้วย BGP จะใช้ Transmission Control Protocol (TCP) และส่งข้อมูลที่ปรับปรุงแล้วของตาราง router เฉพาะ host ที่พบว่ามีการเปลี่ยนแปลง จึงมีผลเฉพาะส่วนของตาราง router ที่ส่ง BGP-4 เป็นเวอร์ชันล่าสุด
11. สายใยแก้วนำแสงมีกี่ชนิด

ตอบ ชนิดคือไฟเบอร์ออฟติค

12. สัญญาณแก้วใยแก้วนำแสงต่างๆ

ตอบ อนาล็อกกับดิจิตอล

13. จงบอกข้อดีของเส้นใยแก้วนำแสง

ตอบ 1. มีน้ำหนักเบาและไม่เป็นสนิม ซึ่งเหมาะมากสำหรับใช้งานในยานอวกาศ และรถยนต์

2. เส้นใยแสง 1 เส้น สามารถที่จะมีช่องสัญญาณเสียงได้มากเท่ากับ 1500 คู่สาย

3. ความห่างของตัวขยายสัญญาณสำหรับเส้นใยแสงมีค่าตั้งแต่ 35 ถึง 80 กิโลเมตร ซึ่งตรงข้ามกับสายธรรมดา ซึ่งมีค่าตั้งแต่ 1 ถึงแค่ 1.5 กิโลเมตรเท่านั้น
4. เส้นใยแสงจะไม่มีการรบกวนจากฟ้าแลบ และการแผ่รังสีของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า

14. ขนาดของ core และ cladding ในเส้นใยแก้วนำแสงแต่ละชนิด

ตอบ แท่งควอร์ต ซึ่งผ่านกระบวนการ Modefied Chemical Vapor Deposition (MCVD) แล้วจะถูกวางในแนวตั้งในหอดึง (Drawing Tower) ซึ่งจะถูกให้ความร้อนต่ออีก (2200 F) และถูกดึงลงด้านล่าง โดยหลักการของการหลอมเหลวควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ และขบวนการการดึง เพื่อจะทำให้เส้นใยแสงคุณภาพสูง มีความยาวประมาณ 6.25 กิโลเมตร และเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 125 ไมโครเมตร ศูนย์กลางซึ่งถูกเรียกว่า แกน หรือ CORE (เส้นผ่าศูนย์กลาง 8 ไมโครเมตร) จะถูกล้อมรอบด้วยควอร์ตที่บริสุทธิ์น้อยกว่า ซึ่งถูกเรียกว่า ชั้นคลุม หรือ cladding (ขอบเขตประมาณ 117 ไมโครเมตร

15. การเชื่อมต่อดดยวิธีการหลอมรวม ทำได้โดยวิธีใด

ตอบ การเชื่อมต่อแบบหลอมรวม เป็นการเชื่อมต่อ Fiber Optic สองเส้นเข้าด้วยกัน โดยการให้ความร้อนที่ปลายของเส้น Fiber Optic จากนั้นปลายเส้น Fiber Optic จะถูกดันออกมาเชื่อมต่อกัน การเชื่อมต่อกันในลักษณะนี้ เป็นการเชื่อมต่อโดยถาวร จนทำให้ดูเหมือนรวมเป็นเส้นเดียวกัน การสูญเสียจากการเชื่อมต่อในลักษณะนี้ จะทำให้มีความสูญเสีย ประมาณ 0.01 - 0.2 dB ในขั้นตอนการเชื่อมต่อนี้ ความร้อนที่ทำให้ปลายเส้น Fiber Optic อ่อนตัวลงด้วยประกายไฟที่เกิดจากการ Arc ระหว่างขั้ว Electrode ขณะทำการ หลอมรวม ซึ่งจะยังผลให้การเชื่อมต่อของ Fiber Optic เป็นเนื้อเดียวกัน

วันอังคารที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

ข้อสอบเรื่อง Router (เราเตอร์)

ข้อสอบปรนัย
1. เราเตอร์มีหน้าที่อย่างไร
ก. เชื่อมโยงเครือข่าย
ข. รับ-ส่งสัญญาณ
ค. จัดเเบ่งเครือข่ายและเลือกเส้นทางที่เหมาะสม
ง. ถูกข้อ ข
2. เราเตอร์มีคุณสมบัติและประสิทธิภาพที่ดีในการเชื่อมต่อเครือข่ายมีกี่คุณสมบัติ
ก.4 อย่าง
ข. 5 อย่าง
ค. 7 อย่าง
ง. 8 อย่าง
3. ADSL คืออะไร
ก.เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูลความเร็วสูง
ข.เครือข่ายระยะไกล
ค.รับข้อมูล
ง.ส่งข้อมูล
4.ความเร็วของ ADSL ในการส่งข้อมูลสูงสุดที่ไร
ก.640 กิโลบิตต่อวินาที (Kbps.)
ข.650 กิโลบิตต่อวินาที (Kbps.)
ค.660 กิโลบิตต่อวินาที (Kbps.)
ง.670 กิโลบิตต่อวินาที (Kbps.)
5.เทคโนโลยี ADSL มีความเร็วในการรับข้อมูลสูงสุด กี่เม็กกะบิตต่อวินาที (Mbps)
ก. 2 เม็กกะบิตต่อวินาที (Mbps)
ข. 4 เม็กกะบิตต่อวินาที (Mbps)
ค. 6 เม็กกะบิตต่อวินาที (Mbps)
ง. 8 เม็กกะบิตต่อวินาที (Mbps)
6.หน้าที่หลักของ Router คือ
ก.การหาเส้นทางในการส่งผ่านข้อมูลที่ดีที่สุด
ข.กำหนด Network address
ค.รักษาความปลอดภัย
ง.แชร์ข้อมูล
7.อะไรเป็นอุปกรณ์เชื่อมโยงเครือข่ายสองเครือข่ายที่แยกจากกัน
ก. สวิตซ์
ข. เราเตอร์
ค. บริดจ์
ง. ไม่มีข้อถูก
8.ในอินเทอร์เน็ตมักเรียกเราเตอร์ว่าอะไร
ก. ไอพีเราเตอร์ (IP router)
ข. เราเตอร์ (Router)
ค. สวิตช์แพ็กเก็ต ข้อมูล (Data Switched Packet)
ง. สวิตช์ (Switch)
9.Router ทำงานอยูในบน Layer ใด
ก. Layer 3
ข. Layer 4
ค. Layer 5
ง. Layer 6
10.จาก Layer ดังกล่าวมีชื่อว่า
ก.Application-oriented Layers
ข.Network-dependent Layers
ค.Physical Layer
ง.Transport Layer


ข้อสอบอัตนัย
1.เราเตอร์ คืออะไร
ตอบ เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานในระดับชั้นเน็ตเวิร์กตามรูปข้างล่างนี้ เราเตอร์ทำงานร่วมกับฮาร์ดแวร์ในระดับเดทาลิงค์ได้หลายรูปแบบ
2.เราเตอร์มีคุณสมบัติและประสิทธิภาพที่ดีในการเชื่อมต่อเครือข่ายอะไรบ้าง
ตอบ
1.ทำงานได้ทั้งแบบ รีพีตเตอร์ บริดจ์ และเกทเวย์
2.แบ่งแยกเครือข่ายขนาดใหญ่ให้เป็นเครือข่ายย่อย ( Sub-network )
3.สามารถควบคุมการบรอดคาสต์ระหว่างเซกเมนต์ ( Broadcast Storm control )
4.สร้างระบบรักษาความปลอดภัยได้หลายแบบ ( Network Security Firewall )
3.อุปกรณ์เราเตอร์ ทำหน้าที่อย่างไร
ตอบ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เทคโนโลยีในแบบเราติง ซึ่งถ้ามองย้อนหลังไปในอดีตนั้น มีบทบาทมากในการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
4. อุปกรณ์ที่นิยมใช้ในการเชื่อมโยง คือ อะไร
ตอบ เราเตอร์
5. อะไรเป็นอุปกรณ์เชื่อมโยงเครือข่ายสองเครือข่ายที่แยกจากกัน
ตอบ บริดจ์
6. อุปกรณ์หลักในการเชื่อมโยงเครือข่าย คือ
ตอบ บริดจ์ เราเตอร์ และ สวิตซ์
7. เราเตอร์มีความสามารถใช้โปรโตคอลได้หลากหลาย สิ่งหนึ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้คืออะไร
ตอบ ซอฟต์แวร์จัดการระบบเครือข่าย ( Network Operating System )
8. การป้องกันการกระจายสัญญาณ คืออะไร
ตอบ อุปกรณ์เราเตอร์ป้องกันการกระจายสัญญาณ ( Broadcast ) ข้ามเซกเมนต์ ซึงแตกต่างจากรีพีตเตอร์และบริดจ์
9. . การป้องกันการกระจายสัญญาณ คืออะไร
ตอบ อุปกรณ์เราเตอร์ป้องกันการกระจายสัญญาณ ( Broadcast ) ข้ามเซกเมนต์ ซึงแตกต่างจากรีพีตเตอร์และบริดจ์
10.Network-dependent Layers ทำหน้าที่อย่างไร
ตอบ เกี่ยวกับการรับส่งข้อมูลผ่านสายส่ง และควบคุมการรับส่งข้อมูล.ตรวจสอบข้อผิดพลาด รวมทั้งเลื่อกเส้นทางที่ใช้ในการรับส่ง ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับฮาร์ดแวร์เป็นหลัก

วันอังคารที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

ข่าวเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์

อินเทลปล่อยเซนทริโน 2 ลงตลาด + ดันยอดกลุ่มผลิตภัณฑ์โน้ตบุ๊ก/ชูฟังก์ชันเด่นที่เทคโนโลยีไร้สายไวแม็กซ์
อินเทลได้ฤกษ์เปิดตัวชิปเซนทริโน 2 เวอร์ชันล่าสุดสำหรับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก ชูคุณสมบัติเด่นด้านการสื่อสารไร้สายเชื่อมต่อเทคโนโลยีไวแม็กซ์ควบไว-ไฟ ตีตื้นเอเอ็มดีคู่แข่งที่เผยชิปโน้ตบุ๊กออกมาก่อนหน้า ไอดีซี ประเมินตลาดโน้ตบุ๊กไม่เกินปีหน้าแซงคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ

นายชมูเอล เอเดน รองประธานและผู้จัดการทั่วไปกลุ่มธุรกิจแพลตฟอร์มไร้สายของบริษัท อินเทล คอร์ปอเรชั่นฯ เผยการทำตลาดชิปเวอร์ชันใหม่ในตระกูลเซนทริโน หรือเซนทริโน 2 ซึ่งมีโค้ดเนมเดิมว่ามอนเตวีนา หลังเลื่อนเปิดตัวมา 2-3 เดือน โดยชิปประมวลผลดังกล่าวผนวกการทำงานไว้หลายระบบเจาะตลาดคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก มีทางเลือกถึง 5 รุ่นพัฒนาบนพื้นฐานหน่วยประมวลผลแบบคอร์ทูดูโอ ที่มีความเร็วในการประมวลผลตั้งแต่ 2.26-3.06 กิกะเฮิรตซ์ ไม่เพียงคุณภาพการประมวลผลได้รวดเร็วขึ้นแต่ยังขยายอายุการใช้งานของแบตเตอรี่ต่อครั้งได้นานขึ้นด้วย

ตัวอย่างหน่วยประมวลผล 3 ใน 5 รุ่น ที่ใช้ไฟเพียง 25 วัตต์ เทียบกับหน่วยประมวลผลในรุ่นก่อนๆ ที่ใช้ไฟถึง 35 วัตต์

นอกจาก ยืดอายุใช้งานของแบตเตอรี่ให้นานขึ้นที่ถือเป็นหัวใจหลักของชิปเซนทริโนแล้ว ผลิตภัณฑ์ล่าสุดนี้ยังผนวกชิปการทำงานมาเป็นแพ็กเกจที่ประกอบด้วยตัวชิปเซต หน่วยประมวลผลด้านกราฟิก และโมดูลเชื่อมต่อเครือข่ายแบบไร้สาย

ขณะที่ บริษัท แอดวานซ์ ไมโคร ดีไวซ์ฯ (เอเอ็มดี) ซึ่งเปิดตัวชิปรุ่นล่าสุดสำหรับโน้ตบุ๊กไปก่อนหน้าเมื่อต้นปี เน้นคุณสมบัติเด่นที่การประมวลผลด้านงานกราฟิก ซึ่งเป็นเทคโนโลยีเด่นของบริษัท เอทีไอที่เอเอ็มดีเพิ่งควบรวมเข้ามา ซึ่งเป้าหมายเอเอ็มดี อยู่ที่การพัฒนาให้ชิปรองรับการประมวลผลของเนื้อหา เช่น ภาพยนตร์ความละเอียดสูง เกม และระบบปฏิบัติการวิสต้า ที่เน้นด้านกราฟิกของไมโครซอฟท์โดยเฉพาะ

ต่างกับชิปเซนทริโน 2 ของอินเทล กลับชูคุณสมบัติเด่นในด้านเทคโนโลยีการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบไร้สายไวแม็กซ์ ที่ครอบคลุมสัญญาณได้ทั่วทั้งเมือง และภายในปีนี้ อินเทลมีแผนว่าจะผนวกรวมเทคโนโลยีไวแม็กซ์ เข้ากับเทคโนโลยีไว-ไฟ ที่มีรัศมีครอบคลุมสัญญาณประมาณ 100 เมตรกับจุดฮอตสปอต สำหรับโมดูลด้านการสื่อสารของเครื่องซึ่งจะมีชื่อเรียกว่า เอคโค พีค

การพัฒนาชิปเซนทริโน 2 ยังเป็นส่วนหนึ่งของยุทธศาสตร์ใหญ่ของอินเทลที่มุ่งพัฒนาชุดผลิตภัณฑ์รองรับเทคโนโลยีที่หลากหลายสำหรับการใช้งานกับอุปกรณ์นอกกลุ่มคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะกลุ่มโทรศัพท์มือถืออีกด้วย เนื่องจากเทคโนโลยีไร้สายแบบใหม่นี้จะช่วยพัฒนาด้านความเร็วในการรับ-ส่งข้อมูล เอื้อต่อระบบงานในหลากหลายรูปแบบมากขึ้น เช่น วิดีโอสตรีมมิ่ง และการดาวน์โหลดวิดีโอ ซึ่งไม่อาจเป็นไปได้เลยหากใช้เทคโนโลยีรุ่นเก่า

ด้านฟากผู้ผลิตคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊กรายใหญ่ในตลาด ก็มีแนวโน้มที่จะรับลูกผลิตภัณฑ์รุ่นล่าสุดจากอินเทลเช่นกัน ทั้งฮิวเลตต์-แพคการ์ด (เอชพี) ผู้ผลิตคอมพิวเตอร์รายใหญ่ของโลก เอเซอร์ และเลอโนโว ผู้ผลิตคอมพิวเตอร์เบอร์ 3 และ 4 ตามลำดับ ต่างมีแผนที่จะใช้ชิปเซนทริโน 2 สำหรับสินค้ารุ่นต่อไป ซึ่งคาดว่าหลายๆ ค่ายกำลังอยู่ในระหว่างการออกแบบที่อาจมีมากถึง 250 รุ่น ที่จะผลิตออกมารองรับชิปรุ่นล่าสุดของอินเทล

การเติบโตของตลาดชิปประมวลผลสำหรับโน้ตบุ๊กยังเป็นคำตอบที่ว่าทำไมธุรกิจของอินเทลจึงยังขยายตัวต่อไปได้แม้จะประสบภาวะตลาดเดสก์ท็อปอิ่มตัวก็ตาม ซึ่งจากความเห็นของนักวิเคราะห์มองว่า รายได้อินเทลในไตรมาส 2 น่าจะเพิ่มขึ้นราว 16.8% โดยบริษัทน่าจะมีรายได้สุทธิที่ 1,490 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ หรือ 25 เซ็นต์ต่อหุ้น และมียอดขายอยู่ที่ 9,320 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เทียบกับรายได้สุทธิในช่วงปีก่อนหน้าซึ่งอยู่ที่ 1,280 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ หรือ 22 เซ็นต์ต่อหุ้น ขณะที่ มียอดขายอยู่ที่ 8,680 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ

วันอังคารที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

มาตรฐานการต่อสาย LAN

การเข้าสาย LAN
อุปกรณ์ที่ใช้สําหรับการเข้าหัวมีดังนี้
ก. คีมเข้าหัว
ข. คัตเตอร์, มีด, คีม
ค. เคเบิลแอนาไลเซอร์ (Cable Analyzer)

วิธีการทดลอง
1. ให้นศ. นําหัว RJ-45 ขึ้นมาแล้วเทียบตําแหน่งที่จะกําหนดใช้ต่อไปดังรูป


2. จับปลายด้านหนึ่งของสาย UTP แล้วใช้คัตเตอร์ปลอกสายพลาสติกที่หุ้มสายสัญญาณออก (ข้อแนะนํา ไม่ควรปลอกสายพลาสติกออกเกิน ฝ นิ้ว) ดังรูป
3. คลี่สายสัญญาณออกเป็นคู่ (จะได้สี่คู่) ดังรูป
4. จัดเรียงสายสัญญาณที่ได้ให้เรียงสี ตามมาตรฐานการเข้าหัวแบบ TIA/EIA 568B (ดูรูปมาตรฐานการ เข้าหัวประกอบ -- ดานบน)
5. นําสายสัญญาณที่จัดเรียงสีแล้วสอดเข้าในหั ว RJ-45 ตามตําแหน่งที่กําหนดไว้ (ดูรูปมาตรฐานการ เข้าหัวประกอบ – ด้านบน)




ข้อแนะนํา ควรสอดสายสัญญาณให้ลึกที่สุด เพื่อให้สายสัญญาณเข้าไปจนถึงส่วนหัวของหัว RJ-45 และควรให้ส่วนด้านท้ายมีพลาสติกติดเข้ามาในหัว RJ-45 ดังรูป



รูปนี้ใช้มาตรฐานแบบ TIA/EIA 568A
มุมมองจากด้านล่าง


6. นําหัว RJ-45 สอดเข้าในคีมเข้าหัว ดังรูป ก. และจุดที่คีมจะกดลงมาที่หัว RJ-45 จะเป็นดังรูป

ข. และกดที่ด้ามคีมเพื่อเข้าหัว



Straight-through Cable
สายสัญญาณแบบ Straight-through ถูกใช้ในลักษณะการเชื่อมต่อแบบ PC สู่ HUB, HUB สู่Router, HUB สู่ HUB (ผ่าน Uplink port) สายแบบ Straight-through จะมีตําแหน่งสีของสายสัญญาณที่ เหมือนกันทั้งสองานของเส้นสัญญาณ ดังรูป

มาตรฐาน TIA/EIA 568A และ 568B

การเข้าหัวสาย UTP นั้นมีอยู่สองมาตรฐานที่ได้กำหนดไว้คือ TIA/EIA 568A และ 568B ส่วนรายละเอียดเกี่ยวกับการเรียงลำดับสายจะแสดงดังตารางและรูปด้านล่าง





สาย UTP และหัวเชื่อมต่อแบบ RJ-45
การทำสายแพทช์คอร์ดหรือสายที่เชื่อมระหว่างฮับกับคอมพิวเตอร์นั้น ปลายทางทั้งสองข้างจะต้องเข้าตามมาตรฐาน TIA/EIA 568B ส่วนสายครอสโอเวอร์หรือสายที่เชื่อมระหว่างฮับกับฮับหรือคอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์นั้น ปลายสายด้านหนึ่งต้องเข้าแบบ TIA/EIA 568A ส่วนปลายสายอีกด้านหนึ่งต้องเข้าแบบ TIA/EIA 568B

วันอาทิตย์ที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2551

เครือข่าย Ethernet

เครือข่าย Ethernet
1.ความหมายของIEEE 802.3IEEE 802.3 หรือ อีเทอร์เน็ต (Ethernet) เป็นเครือข่ายที่มีความเร็วสูงการส่งข้อมูล 10 เมกะบิตต่อวินาที สถานีในเครือข่ายอาจมีโทโปโลยีแบบัสหรือแบบดาว IEEE ได้กำหนดมาตรฐานอีเทอร์เน็ตซึ่งทำงานที่ความเร็ว 10 เมกะบิตต่อวินาทีไว้หลายประเภทตามชนิดสายสัญญาณเช่น•10Base5 อีเทอร์เน็ตโทโปโลยีแบบบัสซึ่งใช้สายโคแอกเชียลแบบหนา (Thick Ethernet) ความยาวของสายในเซกเมนต์หนึ่ง ๆ ไม่เกิน 500 เมตร

10Base2 อีเทอร์เน็ตโทโปโลยีแบบบัสซึ่งใช้สายโคแอ๊กเชียลแบบบาง (Thin Ethernet) ความยาวของสายในเซกเมนต์หนึ่ง ๆ ไม่เกิน 185 เมตร•10BaseT อีเทอร์เน็ตโทโปโลยีแบบดาวซึ่งใช้ฮับเป็นศูนย์กลาง สถานีและฮับเชื่อมด้วยสายยูทีพี (Unshield Twisted Pair) ด้วยความยาวไม่เกิน 100 เมตรรูปที่ข้างล่าง แสดงถึงลักษณะเครือข่ายอีเทอร์เน็ตแยกตามประเภทของสายสัญญาณ รหัสขึ้นต้นด้วย 10 หมายถึงความเร็วสายสัญญาณ 10 เมกะบิตต่อวินาที คำว่า “Base” หมายถึงสัญญาณชนิด “Base” รหัสถัดมาหากเป็นตัวเลขหมายถึงความยาวสายต่อเซกเมนต์ในหน่วยหนึ่งร้อยเมตร (5=500, 2 แทนค่า 185) หากเป็นอักษรจะหมายถึงชนิดของสาย เช่น T คือ Twisted pair หรือ F คือ Fiber opticsส่วนมาตรฐานอีเทอร์เน็ตความเร็ว 100 เมกกะบิตต่อวินาทีที่นิยมใช้ในปัจจุบันได้แก่ 100BaseTX และ 100BaseFX สำหรับอีเทอร์เน็ตความเร็วสูงแบบกิกะบิตอีเทอร์เน็ตเริ่มแพร่หลายมากขึ้น ตัวอย่างของมาตรฐานกิกะบิตอีเทอร์เน็ตในปัจจุบันได้แก่ 100BaseT, 100BaseLX และ 100BaseSX เป็นต้น อีเทอร์เน็ตใช้โปรโตคอล ซีเอสเอ็มเอ/ซีดี (CSMA/CD : Carrier Sense Multiple Access with Collision Detection) เป็นตัวกำหนดขั้นตอนให้สถานีเข้าครอบครองสายสัญญาณ ในขณะเวลาหนึ่งจะมีเพียงสถานีเดียวที่เข้าครองสายสัญญาณเพื่อส่งข้อมูล สถานีที่ต้องการส่งข้อมูลต้องการตรวจสอบสายสัญญาณว่ามีสถานีอื่นใช้สายอยู่หรือไม่ ถ้าสายสัญญาณว่างก็ส่งข้อมูลได้ทันที หากไม่ว่างก็ต้องคอยจนกว่าสายสัญญาณว่างจึงจะส่งข้อมูลได้ ขณะที่สถานีหนึ่ง ๆ กำลังส่งข้อมูลก็ต้องตรวจสอบสายสัญญาณไปพร้อมกันด้วยเพื่อตรวจว่าในจังหวะเวลาที่ใกล้เคียงกันนั้นมีสถานีอื่นซึ่งพบสายสัญญาณว่างและส่งข้อมูลมาหรือไม่ หากเกิดกรณีเช่นนี้ขึ้นแล้ว ข้อมูลจากทั้งสองสถานีจะผสมกันหรือเรียกว่า การชนกัน (Collision) และนำไปใช้ไม่ได้ สถานีจะต้องหยุดส่งและสุ่มหาเวลาเพื่อเข้าใช้สายสัญญาณใหม่ ในเครือข่ายอีเทอร์เน็ตที่มีสถานีจำนวนมากมักพบว่าการทานจะล่าช้าเพราะแต่ละสถานีพยายามยึดช่องสัญญาณเพื่อส่งข้อมูลและเกิดการชนกันเกือบตลอดเวลา โดยไม่สามารถกำหนดว่าสถานีใดจะได้ใช้สายสัญญาณเมื่อเวลาใด อีเทอร์เน็ตจึงไม่มีเหมาะกับการใช้งานในระบบจริง

2.10 Base 210 Base 2 เป็นรูปแบบต่อสายโดยใช้สาย Coaxial มีเส้นศูนย์กลาง 1/4 นิ้ว เรียกว่า Thin Coaxial สายจะมีความยาวไม่เกิน 180 เมตรมาตรฐาน 10 Base 2 ความหมาย 10 คือความเร็วในการส่งข้อมูล 10 Mbps Base คือการส่งข้อมูลแบบ Baseband 2 คือความยาวสูงสุด 200 เมตร (185 – 200 เมตร ) 10 Base 2 เป็นแบบเครือข่ายที่ใช้สาย Coaxial แบบบาง (Thin Coaxial) ชนิด RG-58 A/U โดยจะมี Teminator (50 โอมห์ ) เป็นตัวปิดหัว และท้ายของเครือข่าย

ข้อกำหนดของ 10 Base 2• ใช้สาย Thin Coaxial ชนิด RG-58 A/U
• หัวที่ใช้ต่อกับสายคือ หัว BNC
• ห้ามต่อหัว BNC เข้ากับ LAN Card โดยตรง ต้องต่อด้วย T-Connector เท่านั้น
• เครื่องตัวแรกและตัวสุดท้ายในเครือข่าย ต้องปิดด้วย Terminator ขนาด 50 โอมห์
• ความยาวของสายแต่ละเส้นที่ต่อระหว่าง Workstation ต้องมีความยาวไม่ต่ำกว่า 0.5 เมตร
• สายสัญญาณต่อ 1 Segment ยาวไม่เกิน 200 เมตร (185 – 200 เมตร )
• ใน 1 Segment สามารถต่อเป็นเครือข่ายได้ไม่เกิน 30 เครื่อง
• ในกรณีที่ต้องการต่อมากกว่า 30 เครื่อง ต้องมีอุปกรณ์ที่เรียกว่า Repeater เพื่อเพิ่ม Segment โดยสามารถต่อ Repeater ได้ไม่เกิน 4 Repeater ( ดังนั้น 4 Repeater = 5 Segment)
• ความยาวของสายสัญญาณทั้งหมด สูงสุด 1000 เมตร (200 เมตรต่อ 1 Segment คูณด้วย 5 Segment)
• จำนวนเครื่องสูงสุดในเครือข่าย 150 เครื่อง (30 เครื่องต่อ 1 Segment คูณด้วย 5 Segment

3.10 Base 5 ความหมาย 10 คือความเร็วในการส่งข้อมูล 10 Mbps Base คือการส่งข้อมูลแบบ Baseband
• คือความยาวสูงสุด 500 เมตร 10 Base 5 เป็นแบบเครือข่ายที่มีลักษณะคล้ายกับ 10 Base 2 แต่จะใช้สาย Coaxial แบบหนา
(Thick Coaxial หรือ Back Bone) เป็นสายชนิด RG-8 ซึ่งสายจะเป็นสีเหลืองและมีขนาดใหญ่โดย Teminator (50 โอมห์ ) เป็นตัวปิดหัว และท้ายของเครือข่าย เครือข่ายชนิด 10 Base 5 นี้ จะมีต่อจำนวนเครื่องได้มากกว่า และต่อในระยะได้ไกลกว่าแบบ 10 Base 2 แต่ในปัจจุบันมักไม่นิยมใช้กัน เนื่องจากต้องใช้ค่าใช้จ่ายสูง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ควรทราบ มีดังนี้ แผงวงจรเครือข่าย (LAN Card) คือแผงวงจรเครือข่ายที่เสียบไว้กับตัวเครื่อง และเชื่อมต่อด้วยสายเพื่อต่อเป็นเครือข่าย โดยแผงวงจรเครือข่ายนี้จะมีหัวเสียบเป็นชนิด DIX Connector Socket ( LAN Card ) ชนิด AUI ใช้กับมาตรฐาน 10 Base 5ข้อกำหนดของ 10 Base 5
• ใช้สาย Thick Coaxial ชนิด RG-8
• หัวที่ใช้ต่อกับสายคือหัว DIX หรือบางทีอาจจะเรียกว่า หัว AUI
• เครื่องตัวแรกและตัวสุดท้ายในเครือข่ายต้องปิดด้วย N-Series Terminator ขนาด 50 โอมห์• ระยะห่างระหว่าง Transceiver ต้องไม่ต่ำกว่า 2.5 เมตร
• Transceiver Cable จะมีความยาวได้ไม่เกิน 50 เมตร
• ใน 1 Segment สามารถต่อเป็นเครือข่ายได้ไม่เกิน 100 เครื่อง
• สายสัญญาณต่อ 1 Segment ยาวไม่เกิน 500 เมตร
• ในกรณีที่ต้องการต่อมากกว่า 100 เครื่อง ต้องมีอุปกรณ์ที่เรียกว่า Repeater เพื่อเพิ่มSegment โดยสามารถต่อ Repeater ได้ไม่เกิน 4 Repeater (ดังนั้น 4 Repeater = 5 Segment)
• ความยาวของสายสัญญาณทั้งหมด สูงสุด 2,500 เมตร (500 เมตรต่อ 1 Segment คูณด้วย 5 Segment )
•จำนวนเครื่องสูงสุดในเครือข่าย 500 เครื่อง (100 เครื่องต่อ Segment คูณด้วย 5 Segment )

4.100BASE-FX 100BASE-FX Multimode LC SFP Transceiver (P/N: DEM-211) มอบประสิทธิภาพการทำงานระดับสูงให้กับแอพพลิเคชันการสื่อสารข้อมูลแบบซีเรียลออพติคัลดาต้า นอกจากนั้นยังประกอบด้วยตัวเชื่อมต่อที่มีการทำงานแบบดูเพล็กซ์ LC รวมถึงยังสามารถใช้งานร่วมกับมาตรฐานการสื่อสารแบบ IEEE 802.3u เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพขึ้นเป็น 100 เมกะบิตต่อวินาที ในโหมดฮาฟดูเพล็กซ์สำหรับแอพพลิเคชันเคเบิลไฟเบอร์ ทั้งนี้การอินทริเกรทตัวรับส่งคุณภาพสูงของดีลิงค์นั้นก็เพื่อให้การทำงานมีประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้น ปราศจากอาการกระตุกของสัญญาณ และเพื่อให้การเชื่อมต่อแบบออพติคัลสามารถขยายออกไปได้มากยิ่งขึ้นโดยไม่มีการลดประสิทธิภาพลง อุปกรณ์นี้จึงช่วยให้การถ่ายโอนข้อมูลในระยะสั้น ระยะกลาง และระยะทางที่ไกลๆ ทั้งในส่วนของการใช้งานภายในอาคาร โรงงาน แคมปัสและในตัวเมืองมีเสถียรภาพยิ่งขึ้น และเมื่อสวิตช์ 2 ตัวมีการเชื่อมต่อกันแล้วโดยใช้ตัวรับส่ง DEM-211 ทั้ง 2 ทาง ผู้ใช้งานจะได้รับอัตราเร็วของการเชื่อมต่อที่ระดับ 155 เมกะบิตต่อวินาที ยิ่งไปกว่านั้นยังได้มอบการเชื่อมต่อแบบไฟเบอร์ออพติค 100BASE-FX SFP บนพอร์ต Gigabit combo SFP ให้กับสวิตช์ของดีลิงค์อีกด้วย

5.100 Base F100Base-Fสาย AMP OSP (Outside Plant) ถูกออกแบบมาเฉพาะ เพื่อการติดตั้งในพื้นที่ขนาดใหญ่ เพราะสามารถติดตั้งไว้บนเสาโยง หรือลอดท่อใต้ดิน เพื่อเชื่อมต่อระหว่างอาคาร สายถูกทดสอบตามมาตรฐาน TIA ซึ่งเป็นข้อกำหนดสำหรับสายไฟเบอร์ออปกติ ทั้งยังมีคุณสมบัติเกินมาตรฐานไปอีกขั้น จึงรองรับได้ทั้ง 100Base-F, 155/622 Mbps ATM และกิกะบิตอีเธอร์เน็ต

ออกข้อสอบเรื่อง sebnermask and ip address

.ข้อสอบปรนัย

1. IP Address : 192.0.0.0 subnet mask คือข้อใด
ก. 255.0.0.0
ข. 255.255.0.0
ค. 255.255.255.0
ง. 255.255.255.255
2. IP Address : 192.168.0.0 subnet mask คือข้อใด
ก. 255.0.0.0
ข. 255.255.0.0
ค. 255.255.255.0
ง. 255.255.255.255
3. IP Address : 192.168.199.0 subnet mask คือข้อใด
ก. 255.0.0.0
ข. 255.255.0.0
ค. 255.255.255.0
ง. 255.255.255.255
4. IP Address : 192.168.199.99 subnet mask คือข้อใด
ก. 255.0.0.0
ข. 255.255.0.0
ค. 255.255.255.0
ง. 255.255.255.255
5. subnet mask 130.5.5.25 สามารถแสดงเป็นเลขฐานสองได้เท่าใด
ก. 10000010.00000101.00000101.00011001
ข. 10000010.00000101.00000101.00001101
ค. 10000010.00000101.00000101.00010001
ง. 10000010.00000101.00000101.00011000
6. network address จะอยู่ในช่วง 1~126 ส่วน default Subnet Mask มีค่าเท่าใด
ก. 255.0.0.0
ข. 255.255.0.0
ค. 255.255.255.0
ง. 255.255.255.255
7. network address จะอยู่ในช่วง 1~126 ส่วน default Subnet Mask มีค่าเท่าใด
ก. 255.0.0.0
ข. 255.255.0.0
ค. 255.255.255.0
ง. 255.255.255.255
8. network address จะอยู่ในช่วง 128~191 ส่วน default Subnet Mask มีค่าเท่าใด
ก. 255.0.0.0
ข. 255.255.0.0
ค. 255.255.255.0
ง. 255.255.255.255
9. network address จะอยู่ในช่วง 192~ 223 ส่วน default Subnet Mask มีค่าเท่าใด
ข. 255.0.0.0
ข. 255.255.0.0
ค. 255.255.255.0
ง. 255.255.255.255
10. network address จะอยู่ในช่วง 240~ 247 ส่วน default Subnet Mask มีค่าเท่าใด
ค. 255.0.0.0
ข. 255.255.0.0
ค. 255.255.255.0
ง. 255.255.255.255


ข้อสอบอัตนัย
1. จงหาค่าของ Subnet Maskให้เขียน Defualt Subnet Mask ให้อยู่ในเลขฐานสอง ในที่นี้ 192.168.0.0 ในในคลาส A ดังนั้น Subnet Mask คือ 255.0.0.0 เมื่อเขียนเป็นเลขฐานสองจะได้เท่ากับ
..........................................................................................................
เฉลย 11000000.00000000.00000000.00000000

2. จงหาค่าของ Subnet Maskให้เขียน Defualt Subnet Mask ให้อยู่ในเลขฐานสอง ในที่นี้ 192.168.0.0 ในในคลาส B ดังนั้น Subnet Mask คือ 255.255.0.0 เมื่อเขียนเป็นเลขฐานสองจะได้เท่ากับ
............................................................................................................
เฉลย 11000000.10101000.00000000.00000000

3. จงหาค่าของ Subnet Maskให้เขียน Defualt Subnet Mask ให้อยู่ในเลขฐานสอง ในที่นี้ 192.168.168.0 ในในคลาส c ดังนั้น Subnet Mask คือ 255.255.255.0 เมื่อเขียนเป็นเลขฐานสองจะได้
.....................................................................................................
เฉลย 11000000.10101000. 10101000.00000000

4. จงหาค่าของ Subnet Maskให้เขียน Defualt Subnet Mask ให้อยู่ในเลขฐานสอง ในที่นี้ 169.187.0.0 เมื่อเขียนเป็นเลขฐานสองจะได้เท่า
.......................................................................................................
เฉลย 10101001.10111011.00000000.00000000

5. จงหาค่าของ Subnet Maskให้เขียน Defualt Subnet Mask ให้อยู่ในเลขฐานสอง ในที่นี้ 192.168.0.0 ในในคลาส B ดังนั้น Subnet Mask คือ 255.255.0.0 เมื่อเขียนเป็นเลขฐานสองจะได้เท่ากับ
........................................................................................................
เฉลย 11000000.10101000.00000000.00000000

6. วิธีการคำนวณหา Network Address จาก Subnet Mask หาได้อย่างไร
.........................................................................................................
เฉลย สมมติว่า IP Address เป็น 168.108.2.1 นำมาเขียนให้อยู่ในรูปเลขฐานสองแล้วนำมาคูณกันก็จะได้ Network Address

7.Mark 6 bit ของ Claass B ได้กี่ subnet
..........................................................................................................
เฉลย 2^6 = 64 - 2 = 62 Subnet

8.mark 7bit ได้ class B หมายเลข subnetmark คือ อะไร
..........................................................................................................
เฉลย 255.255.254.0 subnetmark

9. mark 2 bit ได้ class C ได้กี่ host
..........................................................................................................
เฉลย 2^6=64-2=62 host

10. mark 4 bit ได้ class A ได้กี่ subnet
..........................................................................................................
เฉลย 2^4 = 16 -2 = 14 subnet

วันอังคารที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2551

การบ้านเรียนวันที่11 มิถุนายน 2551

การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูล (Data Communications)
การรับ – ส่ง โอนย้ายหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลและสารสนเทศระหว่างอุปกรณ์สื่อสารต่าง ๆ ผ่านสื่อนำข้อมูล

องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูล
1. ผู้ส่งข้อมูล (sender) หรืออุปกรณ์ส่งข้อมูล คือสิ่งที่ทำหน้าที่ส่งข้อมูลไปยังจุดหมายที่ต้องการ
2. ผู้รับข้อมูล (Receiver) หรืออุปกรณ์รับข้อมูล คือสิ่งที่ทำหน้าที่รับข้อมูลที่ถูกส่งมาให้
3. ข้อมูล (Data) คือข้อมูลที่ถูกส่ง เช่น เสียง ข้อความ ภาพ และอื่น ๆ
4. สื่อนำข้อมูล (Media) คือสิ่งที่ทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการถ่ายข้อมูลจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง
5. โปรโตคอล (Protocol) คือกฎหรือระเบียบวิธีที่ถูกกำหนดขึ้นเพื่อการสื่อสารข้อมูล ให้ผู้รับและผู้ส่งเข้าใจตรงกันในสิ่งที่ส่ง
................................................................................................


พื้นฐาน Protocol
Protocol คือ ระเบียบวิธีการที่กำหนดขึ้นสำหรับสื่อสารข้อมูล ให้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้อย่างถูกต้อง
Transmission Control Protocol (TCP)
เป็น Protocol ที่ให้บริการแบบ Connection-Oriented คือจะทำการสร้างการเชื่อมต่อระหว่างต้นทาง (Source) และ ปลายทาง (Destination) ก่อนที่จะทำการรับส่งข้อมูล และจะทำการส่งข้อมูลทั้งหมดจนแล้วเสร็จ ทำให้มีความน่าเชื่อถือมาก
Internet Protocol (IP)
เป็น Protocol ที่ทำหน้าที่จัดการเกี่ยวกับการรับ-ส่ง Packet เป็น Protocol ที่ให้บริการแบบ Connectionless คือจะไม่ทำการสร้างการเชื่อมต่อระหว่างต้นทาง (Source) และ ปลายทาง (Destination) ก่อนที่จะทำการรับส่งข้อมูล กล่าวคือในการส่งข้อมูลแต่ละครั้งนั้น Source จะทำการส่งข้อมูลออกไปยัง Destination เลยโดยไม่ได้ทำการตกลงกันก่อน ทำให้มีความน่าเชื่อถือน้อยเพราะข้อมูลอาจสูญหายระหว่างทางได้
Media Access Control (MAC) Address
MAC Address คือ หมายเลขประจำตัวของอุปกรณ์ที่ต่ออยู่ในเครือข่าย ซึ่งกำหนดมาจากบริษัทผู้ผลิต H/W เป็นตัวเลขฐาน 16 จำนวน 12 ตัว ซึ่งจะไม่ซ้ำกันและแก้ไขไม่ได้

IP Address
IP Address หรือ หมายเลขไอพี คือ หมายเลขประจำตัวที่ใช้ในการระบุตัวตนของอุปกรณ์ต่างๆ เช่น computer, router และ server ที่อยู่ในเครือข่าย ซึ่งปัจจุบันที่ใช้งานอยู่นี้จะเป็นเวอร์ชั่น 4 (IPV4) ซึ่งจะต่างกับ MAC Address ตรงที่ค่า IP Address นั้นสามารถแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ แต่ในเครือข่ายเดียวกันต้องไม่ซ้ำกันต้อง IP Address เป็นชุดตัวเลขฐานสองขนาด 32 บิต โดยเพื่อให้ง่ายในการจำจึงแบ่งออกเป็น 4 ส่วนๆ ละ 8 บิต (หรือ 1 Byte) คั่นแต่ละส่วนด้วยจุด (.) แล้วแทนค่าเป็นเลขฐาน 10 แต่ละส่วนมีค่าอยู่ระหว่าง 0 - 255 ตัวอย่างเช่น 11000000.00000001.00000010.00000011 เขียนแทนค่าเป็นเลขฐาน 10 ได้เป็น 192.1.2.3

Class ของ IP Address
IP Address นั้นจะแบ่งออกเป็น 5 classes คือ A, B, C, D และ E แต่ขณะนี้ใช้เพียง 3 classes คือ Class A, Class B และ Class C ซึ่งค่า IP Address นั้นจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ดังรูปด้านล่าง ส่วนแรกเป็น Network number ส่วนที่สองเป็น Host number คือ คอมพิวเตอร์ที่อยู่ในเครือข่ายนั้น

IP Address Class A
Class A ใช้ไบต์แรก (8 bit) เป็น Network number และให้บิตแรก เป็น 0 จึงมี Network number ระหว่าง 0 - 127 (126 เครือข่าย) ส่วน Host number ใช้ 3 ไบต์ (24 บิต) จึงมีคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายได้ถึง 16,777,124 เครื่อง เหมาะสำหรับเครือข่ายส่วนบุคคลช่วงของ IP Address ใน Class A คือ ตั้งแต่ 1.0.0.0 - 127.255.255.255

IP Address Class B
Class B ใช้ 2 ไบต์แรก (16 bit) เป็น Network number และให้ 2 บิตแรก เป็น 10 จึงมี Network number เท่ากับ 2 ยกกำลัง (16-2) หรือ 16,382 เครือข่าย ส่วน Host number ใช้ 2 ไบต์ (16 bit) จึงมีคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายได้ถึง 65,534 เครื่องช่วงของ IP Address ใน Class B คือ ตั้งแต่ 128.0.0.0 - 191.255.255.255

IP Address Class C
Class C ใช้ 3 ไบต์แรก (24 bit) เป็น Network number และให้ 3 บิตแรก เป็น 110 จึงมี Network number เท่ากับ 2 ยกกำลัง (24-3) หรือ 2,097,152 เครือข่าย ส่วน Host number ใช้ 1 ไบต์ (8 bit) จึงมีคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายได้ถึง 254 เครื่องช่วงของ IP Address ใน Class C คือ ตั้งแต่ 192.0.0.0 - 223.255.255.255

IP Address Class D
Class D จะกำหนดให้ 4 บิตแรก เป็น 1110 ใช้ในการทำ Multicasting ช่วงของ IP Address ใน Class D คือ ตั้งแต่ 224.0.0.0 - 239.255.255.255

IP Address Class E
Class E จะกำหนดให้ 5 บิตแรก เป็น 11110 โดยสงวนไว้สำหรับอนาคต ช่วงของ IP Address ใน Class E คือ ตั้งแต่ 240.0.0.0 - 247.255.255.255

Private IP Address
Private IP Address คือ IP Address ที่กำหนดขึ้นสำหรับการใช้งานส่วนตัวหรือภายในองค์กร โดยสามารถใช้งานได้เลยโดยไม่ต้องทำการลงทะเบียน ซึ่งค่า Private IP Address นี้หากมีการส่งข้อมูล (Packet) โดยส่วนมากแล้ว Router จะทำการ Drop ทิ้งไปเอง หรือไม่ก็จะทำการส่งต่อไปเรื่อยๆจนหมดอายุไปเอง ค่า IP Address ที่กำหนดให้เป็น Private IP Address นั้นมี ดังนี้Class A10.0.0.0 - 10.255.255.255Class B172.16.0.0 - 172.31.255.255Class C192.168.0.0 - 192.168.255.255

IP Address version 6
IP address เวอร์ชั่น 4 (IPV4) ซึ่งใช้อยู่ปัจจุบันนั้น ทางทฤษฏีสามารถใช้ได้จำนวน 232 เครื่อง แต่จากการแบ่งออกเป็น Class ย่อย และการเพิ่มจำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์อย่างมากมาย เป็นผลให้ จำนวน IP Address จะมีไม่เพียงพอต่อความต้องการใช้งาน โดยทางแก้ของปัญหานี้ทำได้โดยการเพิ่มจำนวนบิตขึ้น และเรียกว่า IPv6 โดยจะมีขนาด 128 bit

Subnet และ Subnet Mask
Subnet คือ การแบ่งเครือข่ายใหญ่ให้เป็นหลายเครือข่ายย่อยโดยการนำเอาบิตที่เป็นส่วนของ Host ID มาเป็น Network ID ผลที่ได้ คือ จำนวน Network ID หรือ เครือข่ายจะเพิ่มขึ้น แต่จำนวนของ Host ID หรือ เครื่องคอมพิวเตอร์จะลดลงSubnet Mask คือ ตัวเลขที่ใช้แสดงว่าส่วนไหนของ IP Address เป็น Network ID และส่วนไหนเป็น Host ID ซึ่ง Subnet Mask จะมีความยาวเท่ากับ IP Address คือ 32 bit โดยในส่วน Network ID นั้นทุก bit จะเป็น 1 และในส่วน Host ID นั้นทุก bit จะเป็น 0
วัตถุประสงค์หรือเหตุผลในการต้องทำ Subnet นั้น ก็เพื่อให้ง่ายต่อการจัดการระบบเครือข่าย และป้องกันการมีข้อมูลที่ไม่จำเป็นมากเกินไปในเครือข่าย โดยเฉพาะใน Class A และ B ซึ่งมีจำนวน Host ได้ 16,777,124 และ 65,534 ตามลำดับ ซึ่งถ้าไม่ทำการแบ่ง Subnet แล้วเครือข่ายจะใหญ่มาก ทำให้ปริมาณ Broadcast มากเกินไป

โดยการทำ Subnet นั้นมีหลักการอยู่ 2 ข้อ คือ
1. หมายเลขส่วนที่เป็น Subnet (Subnet ID) นั้นไม่สามารถเป็น 0 ได้ทั้งหมด โดยหากเป็น 0 ทั้งหมดจะเป็นการอ้างถึง " Network "
2. หมายเลขส่วนที่เป็น Subnet (Subnet ID) นั้นไม่สามารถเป็น 1 ได้ทั้งหมด โดยหากเป็น 1 ทั้งหมดจะใช้สำหรับการ " Broadcast "วิธีการระบุ Network ของ Subnetการระบุ Network ของ Subnet นั้นทำได้โดยการ AND กันระหว่าง IP Address กับ Subnet Mask เช่น IP Class B 172.20.33.24 และ Subnet Mask 255.255.224.0


การคำนวณจำนวน Network และ Host
จำนวน Host ใน Subnet = 2n - 2 เมื่อ n คือ จำนวน bit ของหมายเลข Host
จำนวน Subnet = 2n - 2 เมื่อ n คือ จำนวน bit ของหมายเลข Subnet
...............................................................................................



แบบฝึกหัด

แปลง IP-209.123.226.168
=11010001.01110001.11100010.10101000

-198.60.70.81
=11000110.00111100.01000110.01010001

CIDR-บอกหมายเลข
Subnet Mask-บอกจำนวน Host CIDR ที่ให้คือ
/22
Subnet Mask = 11111111.11111111.11111100.00000000
= (255+255+252+0)
= (255.255.252.0)
Hostจะได้ 2^10 = 1024 -2 คือลบด้วยHostแรกและHostสุดท้าย=1022
..................................................................................................

/18
Subnet Mask = 11111111.11111111.11000000.00000000
= (255+255+192+0)
= ( 255.255.192.0)
Hostจะได้ 2^14 = 16384 – 2 คือลบด้วยHostแรกและHostสุดท้าย = 16382
...................................................................................................

/27
Subnet Mask = 11111111.11111111.11111111.11100000
= (255.255.255.224)
= (255.255.255.224)
Host จะได้ 2^5 = 32- 2 คือลบด้วยHostแรกและHostสุดท้าย = 30

.....................................................................................................


คำถาม
ข้อสอบเรื่อง IP 5 ข้อ
1. IP Address สามารถแบ่งออกได้เป็นกี่ classes
ก. 2 classes
ข. 3 classes
ค. 4 classes
ง. 5 classes

2. IP Address เป็นชุดตัวเลขฐานสองมีขนาดกี่บิต
ก. 8 บิต
ข. 16 บิต
ค. 32 บิต
ง. 64 บิต

3. การแบ่งตัวเลขออกเป็น 4 ส่วนๆ ละ 8 บิตจะมีค่าเป็นกี่ไบต์
ก. 1 ไบต์
ข. 2 ไบต์
ค. 3 ไบต์
ง. 4 ไบต์

4. การแทนค่าเป็นเลขฐาน แต่ละส่วนมีค่าอยู่ระหว่าง 0 - 255 คือเลขฐานใด
ก. เลขฐาน 2
ข. เลขฐาน 8
ค. เลขฐาน 10
ง. เลขฐาน 16

5. IP Address Class A สามารถเชื่อมต่อได้กี่เครือข่าย
ก. 100 เครือข่าย
ข. 112 เครือข่าย
ค. 120 เครือข่าย
ง. 126 เครือข่าย



ข้อสอบเรื่อง CIDR 5 ข้อ
1. Internet Protocol ดั้งเดิมกำหนด IP address เป็นกี่ชั้น
ก. 1 ชั้น
ข. 2 ชั้น
ค. 3 ชั้น
ง. 4 ชั้น

2. CIDR network address จะมีลักษณะแบบใด
ก. 10.10.20.1
ข. 182.167.0.1
ค. 192.30.280.00/18
ง. 193. 182.167.1

3. การเชื่อมต่อสายการสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ จำแนกได้กี่ประเภท
ก. 1 ประเภท
ข. 2 ประเภท
ค. 3 ประเภท
ง. 4 ประเภท

4. ทิศทางการส่งข้อมูลจำแนกได้เป็น กี่รูปแบบ
ก. 2 รูปแบบ
ข. 3 รูปแบบ
ค. 4 รูปแบบ
ค. 5 รูปแบบ

5. ขั้นตอนการแปลงสัญญาณดิจิตอลจากคอมพิวเตอร์เป็นสัญญาณอนาลอก นี้เรียกว่า
ก. Modulation
ข. Demodulation
ค. Media
ง. sender

วันอังคารที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2551

ทดสอบในห้องเรียน

202 . 29 . 57 . 2
11001010 00011101 00111001 00000010
..................................................................................

11111111.11111111.11111111.11100000
/27(128+64+32=224)
2^5=32-2 =30
class C

..................................................................................
11111111.11111111.11110000.00000000
/12(128+64+32+16=240)
2^12=1096-2 =1094
class C
Data Communications ,Wednesday,2008
DataCommunications ,Wednesday,2008
From:kimsath sath
(mailto:kimsathsath@yahoo.com
http://kimsath.blogspot.com/From:Gushttp://kimsath.blogspot.com/
From:Guszaa
http://guszaa.blogspot.com/
From:นายจำนงค์ ศรีมาศ
(srimas2007@hotmail.com)http://jumnong.blogspot.com/
From:ชยาพงษ์ วังตะเคน
(mo.04@hotmail.com)http://thekop-momo.blogspot.com/
From:sulak Phonboon
(mailto:sulak_laky@hotmail.com)http://sulak-noy.blogspot.com/From:khamsanhttp://sulaknoy.blogspot.com/
From:khamsan khampang (khampang3@hotmail.com)
http://khampang.blogspot.com/
From:ชาตรี แก้วมณี (mailto:chatree_05@thaimail.com)http://chatree-ton.blogspot.com/From:มยุลีhttp://chatree-ton.blogspot.com/
From:มยุลี เสมศรี (mayulee8787@hotmail.com)
http://mayulee8787.blogspot.com/
From:นางสาว จันทร์ กฤษวี (janjun1@hotmail.com)
http://janjun.blogspot.com/
From:นางสาวประภาศิริ สุทธิหนู(nemo_yung@hotmail.com)
http://lylulnlgl.blogspot.com/
From:sam an leakmuny (leakmuny@yahoo.com)
http://leakmuny-sam.blogspot.com/
From:ณัชพร ไชยมูล (clash_oud@hotmail.com)
http://khukhan-bantim.blogspot.com/
From:วาฤดี สัมนา (waruedee_49@hotmail.com)
http://waruedee.blogspot.com/
From:warawood wisetmuen (nicnicnic_02@hotmail.com)
http://warawood.blogspot.com/
From:r y (overnarn@hotmail.com)
http://tcomtoo.blogspot.com/
From:สุพรรษา ท่วาที (supansa_56@hotmail.com)
http://puy-supansa.blogspot.com/
From:อรอุมา พละศักดิ์ (tep_ratree@hotmail.com)
http://tepratree.blogspot.com/
From:สายรุ่ง พงษ์วัน (sayrung_@hotmail.com)
http://koraikoo.blogspot.com/
From:ศิริกัญญา ศิริญาณ (tumkatong@gmail.com)
http://tumkatong.blogspot.com/
From:พรพรรณ สังขาว (aaa.37@hotmail.com)
http://oake-pornpan.blogspot.com/
From:นายเทิดศักดิ์ บุญรินทร์ (ton_therdsak783@hotmail.com)
http://tonstaff.blogspot.com/
From:นิพนธ์ ทรัพย์ประเสริฐ (nipoon_karn@hotmail.com
http://karnline.blogspot.com/
From:ทัสนีย์ ประสาร (tatsanee_1234@thaimail.com)
http://ningza-tatsanee.blogspot.com/
From:wasan dujda (nong2445572@hotmail.com)
http://newcastle-wasan.blogspot.com/
From:นิพนธ์ ทรัพย์ประเสริฐ์ (kan-49@hotmail.com)
http://teerapon123.blogspot.com/
From:sophang sophaly (phangsophaly@hotmail.com)
http://sophaly-phang.blogspot.com/

ข้อสอบเรื่อง OSI Model

ข้อสอบเรื่อง OSI Model
1.) โพรโทคอล หรือ โปรโตคอล (communications protocol) มีชื่อภาษาไทยเรียกว่าอย่างไร
ก. เกณฑ์วิธีการสื่อสาร
ข. ผู้ส่งสาร
ค. ผู้รับสาร
ง.โทรคมนาคม
2.) OSI Model ได้แบ่ง ตามลักษณะของออกเป็นกี่กลุ่ม
ก. 1 กลุ่ม
ข. 2 กลุ่ม
ค. 3 กลุ่ม
ง. 4 กลุ่ม
3.) การเพิ่ม header เป็นชั้นๆ เรียกว่า อย่างไร
ก. การ Encapsulate
ข. การ Trailer
ค. การ Physical Layer

ง. การ Presentation Layer
4.) มาตรฐานคุณสมบัติทางกายภาพของฮาร์ดแวร์ที่ใช้เชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์มีกี่ระบบ
ก. 2 ระบบ
ข. 3 ระบบ
ค. 4 ระบบ
ง. 5 ระบบ
5.) แบบจำลอง OSI จะแบ่งการทำงานของระบบเครือข่ายออกเป็นกี่ชั้น
ก. 4 ชั้น
ข. 5 ชั้น
ค. 6 ชั้น
ง. 7 ชั้น



เอกสารอ้างอิง

www.udonoa.com/www-tam/Knowledge/OSImodel.html - 12k
http://support.mof.go.th/lan/osi.htm
- บางภาพจาก สไลด์ประกอบการเรียนวิชา Computer Commuication Networks,อ.สมนึก
- เอกสิทธิ์ วิริยจารี,เรียนรู้ระบบเน็ตเวิร์กจากอุปกรณ์ของ CISCO, สำนักพิมพ์ ซีเอ็ด.
- ธวัชชัย ชมศิริ,ติดตั้ง/ดูแลระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์,สำนักพิมพ์ ซีเอ็ด.
- เปิดโลก TCP/IP และโปรโตคอลของอินเตอร์เน็ต, สำนักพิมพ์ provision.

วันอังคารที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2551

1. ตาราง ASCII มีทั้งหมดกี่ตัวอักษร
ก. 80 ตัว
ข. 100 ตัว
ค. 110 ตัว
ง. 128 ตัว

2. ข้อใดต่อไปนี้กล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการแทนค่ารหัสของคอมพิวเตอร์ ?
ก. พื้นฐานการแทนค่ารหัสข้อมูลทางคอมพิวเตอร์ใช้ระบบเลขฐานสอง
ข. รหัส ASCII ถูกใช้เพื่อแทนค่าเลขจำนวนในทางคอมพิวเตอร์
ค. การใช้รหัส UNICODE สามารถรองรับการแทนค่าข้อมูลได้จำนวนมากกว่าการใช้รหัส ASCII
ง. รหัส UNICODE เป็นการแทนค่ารหัสอักขระที่สามารถรองรับจำนวนตัวอักขระได้มากที่สุด

3. คอมพิวเตอร์แปลงอักขระและสัญลักษณ์เป็นตัวแทนสัญลักษณ์และอักขระที่เป็นตัวเลข
ในช่วงทศวรรษใด
ก. ทศวรรษ 1960
ข. ทศวรรษ 1961
ค. ทศวรรษ 1962
ง. ทศวรรษ 1963


เฉลย
ข้อ 1 . ง
ข้อ 2 . ค
ข้อ 3 . ก

แนะนำตัวเอง

ข้าพเจ้า นายจำนงค์ ศรีมาศ
วิทยาการคอมพิวเตอร์ ปี 3
รหัสนักศึกษา 4912252103

งานที่ส่งอาจารย์
ชื่อ
JUMNONG
4A,55,4D,4E,4F,4E,47
0100 1010,0101 0101,0100 1101,0100 1110,0100 1111,0100 1110,0100 0111

นามสกุล
SRIMAS
53,52,49,4D,41,53
0101 0011,0101 0010,0100 1001,0100 1101,0100 0001,0101 0011

เบอร์โทร
087-6478490
30,38,37,2D,36,34,37,38,34,39,30
00110000,00111000,00110111,00101101,00110110,00110100,00110111,00111000,00110100,00111001,00110000